Page 41 - แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินปัญหาของประเทศไทยระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580)
P. 41
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
20 แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินปัญหาของประเทศไทย 20 21
ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580)
- มันส าปะหลัง มีเนื้อที่ประมาณ 14.38 ล้านไร่ โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีเนื้อที่ - มะพร้าว มีเนื้อที่ประมาณ 1.25 ล้านไร่ โดยภาคกลาง มีเนื้อที่เพาะปลูกมากที่สุด
เพาะปลูกมากที่สุด แหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ คือ จังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ และอุดรธานี รองลงมา แหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ คือ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี และสมุทรสงคราม รองลงมาได้แก่ภาคใต้
ได้แก่ ภาคเหนือ แหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ คือ จังหวัดก าแพงเพชร นครสวรรค์ และเพชรบูรณ์ และใน แหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ คือ จังหวัดนครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี และชุมพร และในภาคตะวันออก
ภาคตะวันออก แหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ คือ จังหวัดสระแก้ว ฉะเชิงเทรา และชลบุรี คือ จังหวัดชลบุรี ตราด และระยอง
- ข้าวโพด มีเนื้อที่ประมาณ 7.80 ล้านไร่ โดยภาคเหนือมีเนื้อที่เพาะปลูกมากที่สุด (5) พื้นที่พืชไร่หมุนเวียน มีเนื้อที่ 4,333,190 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 1.35 ของเนื้อที่
แหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ คือ จังหวัดเพชรบูรณ์ เชียงราย และน่าน รองลงมาได้แก่ ประเทศ โดยเป็นพื้นที่เพาะปลูกพืชไร่ต่างๆ เช่น ข้าวโพด ข้าวไร่ กะหล่ าปลี บนที่สูง ซึ่งจะมีการพัก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ คือ จังหวัดเลย ชัยภูมิ และนครราชสีมา แปลงปลูกไว้ 3-6 ปี เพื่อให้พื้นดินฟื้นตัวตามธรรมชาติ จึงจะย้อนกลับมาท าการเพาะปลูกใหม่
และในภาคกลาง แหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ คือ จังหวัดสระบุรี กาญจนบุรี และลพบุรี ภาคเหนือเป็นภาคที่มีการปลูกพืชไร่หมุนเวียนมากที่สุด มีเนื้อที่ 4,328,655 ไร่ รองลงมาได้แก่
(3) พื้นที่ไม้ยืนต้น มีเนื้อที่ 42,868,837 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 13.37 ของเนื้อที่ประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ 4,427 ไร่ และภาคกลาง มีเนื้อที่ 108 ไร่
ภาคใต้เป็นภาคที่มีเนื้อที่ไม้ยืนต้นมากที่สุด จ านวน 22,727,585 ไร่ รองลงมาได้แก่ ภาค (6) พื้นที่สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า มีเนื้อที่ 2,680,772 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 0.84
ตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ 9,834,459 ไร่ และภาคกลางเป็นภาคที่มีเนื้อที่ไม้ยืนต้นน้อยที่สุด มีเนื้อที่ ของเนื้อที่ประเทศ ภาคกลางเป็นภาคที่มีสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ ามากที่สุด มีเนื้อที่ 1,193,033 ไร่
1,777,274 ไร่ โดยมีไม้ยืนต้นที่ส าคัญ ดังนี้ รองลงมาได้แก่ ภาคตะวันออก มีเนื้อที่ 789,431 ไร่ และภาคเหนือเป็นภาคที่มีสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า
- ยางพารา มีเนื้อที่ประมาณ 30.44 ล้านไร่ โดยภาคใต้ มีเนื้อที่เพาะปลูกมากที่สุด น้อยที่สุด มีเนื้อที่ 82,898 ไร่
แหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ คือ จังหวัดสุราษฎร์ธานี สงขลา และนครศรีธรรมราช รองลงมาได้แก่ภาค (7) พื้นที่เกษตรกรรมอื่นๆ ได้แก่ พืชสวน ทุ่งหญ้าและโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ พืชน้ า และพื้นที่
ตะวันออกเฉียงเหนือ แหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ คือ จังหวัดอุดรธานี อุบลราชธานี และเลย และในภาค เกษตรผสมผสาน มีเนื้อที่ 1,916,371 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 0.60 ของเนื้อที่ประเทศ ภาคกลางเป็นภาค
ตะวันออก แหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ คือ จังหวัดระยอง จันทบุรี และฉะเชิงเทรา ที่มีพื้นที่เกษตรกรรมอื่นๆ มากที่สุด มีเนื้อที่ 740,683 ไร่ รองลงมาได้แก่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
- ปาล์มน้ ามัน มีเนื้อที่ประมาณ 6.19 ล้านไร่ โดยภาคใต้ มีเนื้อที่เพาะปลูกมากที่สุด มีเนื้อที่ 552,290 ไร่ และภาคใต้เป็นภาคที่มีพื้นที่เกษตรกรรมอื่นๆ น้อยที่สุด มีเนื้อที่ 33,610 ไร่
แหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ คือ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ชุมพร และกระบี่ รองลงมาได้แก่ภาคตะวันออก 3) พื้นที่ป่าไม้
แหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ คือ จังหวัดชลบุรี ตราด และระยอง และในภาคกลาง แหล่งเพาะปลูกที่ พื้นที่ป่าไม้ เป็นประเภทการใช้ที่ดินที่มีเนื้อที่มากเป็นอันดับ 2 โดยจากการส ารวจ พ.ศ. 2558
ส าคัญ คือ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี และราชบุรี – 2559 พบว่า มีเนื้อที่ 105,846,356 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 33.00 ของเนื้อที่ประเทศ ในภาคเหนือมี
- ยูคาลิปตัส มีเนื้อที่ประมาณ 3.93 ล้านไร่ โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ พื้นที่ป่าไม้มากที่สุด จ านวน 55,540,824 ไร่ รองลงมาได้แก่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่
เพาะปลูกมากที่สุด แหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ คือ จังหวัดนครราชสีมา อุดรธานี และบุรีรัมย์ รองลงมา 18,467,743 ไร่ และภาคตะวันออกมีพื้นที่ป่าไม้น้อยที่สุด มีเนื้อที่ 4,856,741 ไร่
ได้แก่ ภาคตะวันออก แหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ คือ จังหวัดสระแก้ว ปราจีนบุรี และฉะเชิงเทรา และใน 4) พื้นที่แหล่งน้ า
ภาคกลาง แหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ คือ จังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี และเพชรบุรี พื้นที่แหล่งน้ า มีเนื้อที่ 9,181,526 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 2.86 ของเนื้อที่ประเทศ พบว่าใน
(4) พื้นที่ไม้ผล มีเนื้อที่ 10,298,430 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 3.21 ของเนื้อที่ประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่แหล่งน้ ามากที่สุด มีเนื้อที่ 3,685,570 ไร่ รองลงมาได้แก่ ภาคใต้ มีเนื้อที่
ภาคเหนือเป็นภาคที่มีเนื้อที่ไม้ผลมากที่สุด จ านวน 3,455,511 ไร่ รองลงมา ได้แก่ ภาคใต้ มีเนื้อที่ 1,787,301 ไร่ และภาคตะวันออกมีพื้นที่แหล่งน้ าน้อยที่สุด มีเนื้อที่ 609,751 ไร่
2,061,557 ไร่ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นภาคที่มีเนื้อที่ไม้ผลน้อยที่สุด มีเนื้อที่ 966,435 ไร่ 5) พื้นที่เบ็ดเตล็ด
โดยมีไม้ผลที่ส าคัญ ดังนี้ พื้นที่เบ็ดเตล็ด หมายถึง ทุ่งหญ้าธรรมชาติ ไม้ละเมาะ เหมือง ที่ทิ้งขยะ นาเกลือ หาดทราย
- ไม้ผลผสม มีเนื้อที่ประมาณ 2.90 ล้านไร่ โดยภาคใต้ มีเนื้อที่เพาะปลูกมากที่สุด และพื้นที่ถม มีเนื้อที่ 10,060,832 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 3.13 ของเนื้อที่ประเทศ พบว่าในภาค
แหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ คือ จังหวัดชุมพร นราธิวาส และยะลา รองลงมา ได้แก่ ภาคกลาง แหล่ง ตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่เบ็ดเตล็ดมากที่สุด มีเนื้อที่ 4,762,649 ไร่ รองลงมาได้แก่ ภาคเหนือ
เพาะปลูกที่ส าคัญ คือ จังหวัดกาญจนบุรี เพชรบุรี และสมุทรสาคร และในภาคเหนือ แหล่งเพาะปลูก มีเนื้อที่ 1,639,551 ไร่ และภาคตะวันออกมีพื้นที่เบ็ดเตล็ดน้อยที่สุด มีเนื้อที่ 847,524 ไร่
ที่ส าคัญ คือ จังหวัดสุโขทัย เชียงใหม่ และตาก
- ล าไย มีเนื้อที่ประมาณ 1.86 ล้านไร่ โดยภาคเหนือ มีเนื้อที่เพาะปลูกมากที่สุด
แหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ คือ จังหวัดเชียงใหม่ ล าพูน และเชียงราย รองลงมาได้แก่ภาคตะวันออก
แหล่งเพาะปลูกที่ส าคัญ คือ จังหวัดจันทบุรี และสระแก้ว และในภาคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แหล่ง
เพาะปลูกที่ส าคัญ คือ จังหวัดเลย