Page 9 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        3




                                - ข้อมูลกลุ่มชุดดิน พ.ศ. 2547 มำตรำส่วน 1:50,000 กรมพัฒนำที่ดิน
                                - ข้อมูลขอบเขตกำรปกครองระดับต้ำบล พ.ศ. 2556 มำตรำส่วน 1:50,000
                     กรมกำรปกครอง

                                - แผนที่สภำพภูมิประเทศ พ.ศ. 2540 มำตรำส่วน 1:50,000 กรมแผนที่ทหำร
                                - แผนที่ภำพถ่ำยดำวเทียมสีผสม ต่ำงระบบจำกดำวเทียม LANDSAT 5 – TM, ภำพถ่ำย
                     จำกดำวเทียม RADARSAT -2, ภำพถ่ำยจำกดำวเทียม COSMO_SkyMed-2 และภำพถ่ำยจำก
                     ดำวเทียม COSMO_SkyMed-4 บันทึกรวมทั งประเทศตั งแต่ พ.ศ. 2548-2557 จำกส้ำนักพัฒนำ
                     เทคโนโลยีอวกำศและภูมิสำรสนเทศ (องค์กำรมหำชน) กระทรวงวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี

                           1.5.3 น้ำเข้ำข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ArcView, ArcGIS ให้อยู่ในรูป Digital data
                           1.5.4 ก้ำหนดขอบเขตและระดับกำรเกิดน ้ำท่วมซ ้ำซำกของภำคใต้ โดยกำรน้ำเอำปัจจัยที่มีผล
                     ต่อกำรเกิดอุทกภัย ซึ่งได้ศึกษำจำกปัจจัยทำงกำยภำพที่คำดว่ำน่ำจะมีผลต่อกำรเกิดอุทกภัย ซึ่งได้

                     ก้ำหนดปัจจัยหลักที่ใช้ในกำรศึกษำทั งหมด 8 ปัจจัย ได้แก่ ข้อมูลสถิติทำงอุตุนิยมวิทยำ ข้อมูลพื นที่
                     เสี่ยงภัยน ้ำท่วมซ ้ำซำกที่ด้ำเนินกำรโดยกรมพัฒนำที่ดิน (ฐำนข้อมูล พ.ศ. 2548) ข้อมูลจำกภำพถ่ำย
                     ดำวเทียมของพื นที่น ้ำท่วมในอดีต 10 ปีย้อนหลัง (ตั งแต่ พ.ศ. 2548 - 2557) ระยะห่ำงจำกล้ำน ้ำ
                     ควำมลำดชันของสภำพพื นที่ลุ่มน ้ำ แผนที่สภำพกำรใช้ที่ดินระดับจังหวัด แผนที่กลุ่มชุดดิน และแผนที่

                     ขอบเขตกำรปกครอง
                           กำรให้น ้ำหนักควำมส้ำคัญของปัจจัยที่ใช้ในกำรประเมิน เนื่องจำกปัจจัยที่ใช้ในกำรวิเครำะห์นั น
                     มีควำมส้ำคัญต่อกำรเกิดน ้ำท่วมซ ้ำซำกไม่เท่ำกัน ดังนั นจึงจ้ำเป็นที่เรำจะต้องหำน ้ำหนักควำมส้ำคัญของ
                     ปัจจัยก่อน โดยมีกำรก้ำหนดน ้ำหนัก และล้ำดับชั นควำมส้ำคัญของตัวแปรหลักที่มีผลต่อกำรเกิด

                     น ้ำท่วมซ ้ำซำก ซึ่งกำรให้ค่ำคะแนนควำมเหมำะสมของปัจจัย (Weighting) และกำรให้ค่ำน ้ำหนัก
                     คะแนนระดับของปัจจัย (Rating) ที่ใช้ศึกษำจะก้ำหนดโดยปัจจัยใดที่มีอิทธิพลหรือมีควำมสัมพันธ์ต่อ
                     กำรเกิดอุทกภัยมำกกว่ำก็จะก้ำหนดให้มีค่ำถ่วงน ้ำหนักที่สูงกว่ำปัจจัยที่มีอิทธิพลหรือมีค่ำควำมสัมพันธ์
                     น้อยกว่ำ ซึ่งก้ำหนดให้ค่ำน ้ำหนักคะแนนอยู่ในช่วง 1 - 8 โดยกำรให้ค่ำน ้ำหนักคะแนนควำมเหมำะสม

                     ของปัจจัย (Weighting) คะแนน 1 หมำยถึง ปัจจัยที่มีควำมเหมำะสมในกำรศึกษำน้อยที่สุด คะแนน 8
                     หมำยถึง ปัจจัยที่มีควำมเหมำะสมในกำรศึกษำมำกที่สุด  ส่วนกำรให้ค่ำน ้ำหนักคะแนนระดับของปัจจัย
                     (Rating) คะแนน 1 หมำยถึง กลุ่มหรือระดับของปัจจัยที่ส่งผลต่อกำรเกิดอุทกภัยน้อยที่สุด และ

                     คะแนน 5 หมำยถึง กลุ่มหรือระดับของปัจจัยที่ส่งผลต่อกำรเกิดอุทกภัยมำกที่สุด ซึ่งค่ำถ่วงน ้ำหนักจะ
                     ได้จำกกำรเฉลี่ยค่ำคะแนนจำกผู้เชี่ยวชำญในหน่วยงำน จำกนั นจึงท้ำกำรหำค่ำน ้ำหนักคะแนนจำก
                     แบบสอบถำมควำมเห็นของผู้เชี่ยวชำญทั งหมดเพื่อน้ำไปใช้ในกำรซ้อนทับข้อมูล กำรซ้อนทับแผนที่
                     และค้ำนวณหำค่ำคะแนนของข้อมูลในแต่ละชั นปัจจัย จะท้ำกำรรวมค่ำคะแนนของข้อมูลที่ได้รับ
                     กำรถ่วงน ้ำหนักแล้วของแต่ละปัจจัย ซึ่งจะท้ำให้พื นที่มีค่ำคะแนนรวมต่ำงๆ กัน หลังจำกที่ท้ำกำร

                     ซ้อนทับแผนที่ด้วยปัจจัยทั งหมดแล้ว จึงคิดค่ำคะแนนรวมในกำรวิเครำะห์ข้อมูลและจัดระดับควำม
                     เสี่ยงต่อกำรเกิดพื นที่น ้ำท่วมซ ้ำซำก (ตำรำงที่ 1) เป็นดังสมกำรต่อไปนี
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14