Page 7 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 7
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
1
บทที่ 1
บทน ำ
1.1 หลักกำรและเหตุผล
น ้ำท่วมหรืออุทกภัย เป็นภัยที่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อประเทศอย่ำงมำกไม่ว่ำจะเป็นด้ำนเศรษฐกิจ
โดยรวมของประเทศชีวิตและทรัพย์สินของประชำชนโดยเฉพำะกับภำคกำรเกษตรซึ่งได้รับควำมเสียหำย
เป็นจ้ำนวนมำก ปัจจุบันกำรเกิดอุทกภัยในประเทศไทย พบว่ำ เกิดขึ นเป็นประจ้ำทุกปีในทุกภำคของประเทศ
และมีแนวโน้มเพิ่มมำกขึ นตำมสภำวะกำรเปลี่ยนแปลงของสภำพภูมิอำกำศ กำรใช้ทรัพยำกรธรรมชำติ
โดยไม่ค้ำนึงถึงสมดุลทำงระบบนิเวศท้ำให้เกิดควำมเสื่อมโทรมของทรัพยำกรและสิ่งแวดล้อม โดยมี
โอกำสเกิดขึ นได้ตั งแต่เดือนพฤษภำคมถึงต้นเดือนมกรำคม และบำงพื นที่อำจประสบเหตุกำรณ์ดังกล่ำว
มำกกว่ำ 1 ครั งในรอบปี
ลักษณะของกำรเกิดน ้ำท่วม มีควำมรุนแรงและมีรูปแบบต่ำงๆกัน ขึ นอยู่กับลักษณะภูมิประเทศ
และสภำพพื นที่โดยกำรเกิดน ้ำท่วมแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆ คือ น ้ำป่ำไหลหลำกหรือ
น ้ำท่วมฉับพลัน มักเกิดขึ นในที่รำบต่้ำหรือที่รำบลุ่มบริเวณใกล้เชิงภูเขำเนื่องจำกฝนตกหนักเหนือภูเขำ
ต่อเนื่องเป็นเวลำนำนโดยปริมำณน ้ำจ้ำนวนมำกเคลื่อนตัวอย่ำงรวดเร็วจำกที่สูงลงสู่พื นที่ต่้ำก่อให้เกิด
ควำมเสียหำยต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชำชน และส่งผลต่อเศรษฐกิจของประเทศหำกบริเวณ
ดังกล่ำวเป็นแหล่งเศรษฐกิจที่ส้ำคัญ ส่วนลักษณะที่สอง ได้แก่ น ้ำท่วมหรือน ้ำท่วมขัง เป็นลักษณะของ
อุทกภัยที่เกิดขึ นจำกปริมำณน ้ำสะสมจ้ำนวนมำกที่ไหลบ่ำในแนวระนำบจำกที่สูงไปยังที่ต่้ำ หรือปริมำณ
จ้ำนวนมำกที่เกิดจำกฝนตกหนักต่อเนื่องที่ไหลลงสู่ล้ำน ้ำหรือแม่น ้ำมีปริมำณมำกจนระบำยลงสู่ลุ่มน ้ำ
ด้ำนล่ำงหรือออกสู่ปำกน ้ำไม่ทัน ท้ำให้เกิดสภำวะน ้ำเอ่อล้นตลิ่งเข้ำท่วมที่อยู่อำศัยและพื นที่กำรเกษตร
ได้รับควำมเสียหำย ถนน หรือสะพำนอำจช้ำรุด ทำงคมนำคมถูกตัดขำดหรือเป็นสภำพน ้ำท่วมขังใน
เขตเมืองใหญ่ที่เกิดจำกฝนตกหนักต่อเนื่องเป็นเวลำนำนมีสำเหตุมำจำกระบบกำรระบำยน ้ำไม่ดีพอ
มีสิ่งก่อสร้ำงกีดขวำงทำงระบำยน ้ำหรือเกิดน ้ำทะเลหนุนสูงกรณีพื นที่อยู่ใกล้ชำยฝั่งทะเล โดยระดับ
ควำมรุนแรงขึ นอยู่กับระยะเวลำและระดับควำมสูงของน ้ำที่ท่วมแช่ขัง
ส้ำหรับภำคใต้ลักษณะภูมิประเทศเป็นแบบคำบสมุทรที่มีเทือกเขำเป็นสันอยู่ตอนกลำง และมี
พื นที่ลำดลงสู่ทะเลทั ง 2 ด้ำน คือ ทำงด้ำนอ่ำวไทยเป็นที่รำบกว้ำง ส่วนทำงด้ำนทะเลอันดำมันเป็น
ที่รำบแคบ ดังนั นลักษณะกำรท่วมขังของน ้ำในพื นที่ภำคใต้จะเป็นลักษณะกำรท่วมแบบฉับพลันและ
น ้ำป่ำไหลหลำก โดยมำไวไปไวไม่ท่วมขังนำนตำมลักษณะภูมิประเทศ นอกจำกนี ยังได้รับอิทธิพลของ
น ้ำทะเลหนุน บริเวณที่รำบลุ่มตำมบริเวณสองฝั่งแม่น ้ำที่อยู่ห่ำงจำกปำกอ่ำวหรือทะเลไม่ไกลนักโดย
ระดับน ้ำในแม่น ้ำบริเวณนั นมักจะได้รับอิทธิพลจำกน ้ำขึ น น ้ำลง จำกระดับน ้ำทะเลหนุนตลอดเวลำ
ดังนั นเมื่อน ้ำที่ไหลหลำกลงมำตำมแม่น ้ำมีปริมำณมำกและตรงกับช่วงเวลำที่ระดับน ้ำทะเลหนุนสูง
เกินกว่ำปกติก็จะท้ำให้เกิดสภำวะน ้ำท่วมในพื นที่กำรเกษตร และที่อยู่อำศัยโดยถ้ำท่วมขังมำกกว่ำ 1 สัปดำห์
ก็จะเกิดกำรเน่ำเสียตำมมำ ในปัจจุบันมีกำรเปลี่ยนแปลงประเภทกำรใช้ประโยชน์ที่ดินประกอบกับ
กำรเปลี่ยนแปลงสภำพภูมิอำกำศ ท้ำให้เกิดอุทกภัยขึ นบ่อยครั งและทวีควำมรุนแรงเพิ่มมำกขึ นทุกปี
ดังนั นกำรน้ำเทคโนโลยีที่ทันสมัย เช่น ระบบสำรสนเทศภูมิศำสตร์ ข้อมูลกำรส้ำรวจระยะไกล กำรใช้
แบบจ้ำลอง ข้อมูลทำงสถิติมำประยุกต์ใช้ในกำรจัดท้ำฐำนข้อมูลและปรับปรุงแผนที่น ้ำท่วมซ ้ำซำก