Page 60 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ในดินทรายชายทะเลเพื่อปลูกคะน้าในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 60

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        49







                       5. ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
                                 จากการด าเนินการทดลองปลูกผักคะน้า ในชุดดินหัวหิน ซึ่งเป็นชุดดินที่มีความอุดมสมบูรณ์
                       ต่ า มีเนื้อดินเป็นดินทรายหนา พบว่า ในแต่ละต ารับการทดลองจะให้ผลผลิตผักคะน้าที่แตกต่างกัน ซึ่ง
                       จะส่งผลต่อคุณภาพผักคะน้าที่เหมาะสมพอที่จะน าออกจ าหน่ายได้ แม้ว่าในปีสุดท้ายทุกต ารับการ

                       ทดลองจะสามารถท าให้ ได้ผักคะน้าที่มีขนาดที่ใหญ่ขึ้น แต่ก็พบว่ายังมีขนาดที่ไม่ดีเท่าที่ควร คือมี
                       ขนาดเล็กกว่าผักคะน้าที่จ าหน่ายทั่วไปในท้องตลาด ซึ่งเป็นผลจากคุณภาพของดิน และปุ๋ยที่ทดสอบ
                       เพียงอย่างเดียว ซึ่งเมื่อมาพิจารณาการค านวณผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ ในการซื้อขายผักคะน้า

                       โดยทั่วไปจะใช้เรื่องของน้ าหนักมาใช้ โดยค านวณจากผลผลิตที่ได้เป็นไร่ ใช้ราคาขายเฉลี่ยของ
                       กรมการค้าภายใน (2551) ผักคะน้าคัดจะมีราคาขายเฉลี่ยตลอดทั้งปีอยู่ที่กิโลกรัมละ 29   บาท  ลบ
                       ด้วยค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เช่นค่าวัสดุปุ๋ย ค่าแรงงานต่าง ๆ ต่อ ไร่ พบว่าต ารับการทดลองที่ 8  คือการใส่
                       ปุ๋ยเคมี 20-11-11  จ านวน 25  กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงสูตรไนโตรเจน  จ านวน
                       50 กิโลกรัมต่อไร่ และปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงสูตรฟอสฟอรัส  จ านวน 25  กิโลกรัมต่อไร่ จะให้ผลผลิต

                       ต่อไร่คิดเป็นน้ าหนักสดเฉลี่ยมากที่สุด คือ 376  กิโลกรัม ท าให้มีราคาที่ขายได้มากที่สุดที่  10,904
                       บาท  ซึ่งเมื่อหักค่าใช้จ่ายต่าง ๆ แล้วจะท าให้เหลือเงินมากที่สุดคือ 7,737  บาท  ซึ่งปัจจัยหลักที่ท า
                       ให้เหลือเงินสุทธิน้อยลงก็คือ ค่าวัสดุปุ๋ย  เช่น ในต ารับการทดลองที่ 4    ที่ใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง

                       สูตรไนโตรเจน  จ านวน 600  กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมี  0-0-60    จ านวน 5   กิโลกรัมต่อไร่ จะ
                       พบว่ามีค่าวัสดุปุ๋ยเป็นจ านวนมาก ท าให้เงินคงเหลือสุทธิติดลบ (ตารางที่ 12)
                                 จากสภาพดินกลุ่มชุดดินที่  43  ชุดดินหัวหิน ที่มีการซึมผ่านได้ของน้ าได้เร็ว  สภาพเป็นดิน

                       ทรายที่มีความลึก มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า หลังจากมีการปรับปรุงดินโดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง
                       โดยหมักตามวิธีของกรมพัฒนาที่ดินพบว่ามีค่าความเป็นกรดเป็นด่างของปุ๋ยที่ 5.9 ปริมาณไนโตรเจน

                       ที่ 4.35 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณฟอสฟอรัส 3.50 เปอร์เซ็นต์ และโพแทสเซียม 2.11 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเมื่อ
                       เทียบกับค่ามาตรฐานปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงแล้ว อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานของกรมพัฒนาที่ดิน และสูง

                       กว่าค่าความต้องการในการเจริญเติบโตของต้นผักคะน้า ซึ่งจากการทดสอบการใช้ปุ๋ยอินทรีย์

                       คุณภาพสูงเพื่อปรับสภาพดินทราย พบว่าการใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงสามารถท าให้ดินทรายมี
                       คุณสมบัติทางกายภาพ และทางเคมีที่สูงขึ้น โดยเฉพาะการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในต ารับการทดลองที่ 4 จะ

                       ท าให้ดินทรายมีคุณสมบัติทางกายภาพ และทางเคมีสูงที่สุด ในส่วนของการเจริญเติบโตของผักคะน้า

                       นั้นพบว่าการใช้  ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับปุ๋ยเคมีจะท าให้ผักคะน้ามีการเจริญเติบโตดีที่สุด โดย
                       ต ารับการทดลองที่ 8 ที่ใส่ปุ๋ยเคมี 20-11-11  จ านวน 25 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง

                       สูตรไนโตรเจน  จ านวน 50  กิโลกรัมต่อไร่ และปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงสูตรฟอสฟอรัส  จ านวน 25
                       กิโลกรัมต่อไร่ จะให้ผลผลิตต่อไร่มากที่สุด
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65