Page 63 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ในดินทรายชายทะเลเพื่อปลูกคะน้าในศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
P. 63

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        52







                       ใช้ปุ๋ยเคมีตามที่กรมวิชาการเกษตรแนะน าคือสูตร  20-11-11    จ านวน 100 กิโลกรัมต่อไร่ จะมี
                       ปริมาณธาตุฟอสฟอรัสและปริมาณโพแทสเซียมหลังการทดลองสูงที่สุด โดยก่อนการทดลองจะมี
                       ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม  240    มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม  และ 17.40  มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
                       ตามล าดับ และหลังการทดลองจะมีฟอสฟอรัสในดิน 673.40 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม   และโพแทสเซียม

                       ในดิน  32.02    มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม   ส่วนในต ารับการทดลองอื่น ๆ จะมีระดับฟอสฟอรัสและ
                       โพแทสเซียมในดินหลังการทดลองใกล้เคียงกันกับปริมาณก่อนการทดอง    ปริมาณค่าพีเอช ของดิน
                       ก่อนการทดลองอยู่ที่  4.8  ซึ่งอยู่ในระดับเป็นกรดจัด หลังจากด าเนินการทดลองพบว่าทุกต ารับการ

                       ทดลองสามารถท าให้ดินมีปริมาณค่าพีเอชดินเพิ่มขึ้นได้ โดยทุกต ารับการทดลองสามารถท าให้ค่าพีเอช
                       ของดินอยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกัน โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 5.5    แม้แต่ต ารับการทดลองที่ 1  ซึ่งเป็นต ารับ
                       ควบคุม แสดงให้เห็นว่าการด าเนินกิจกรรมทางการเกษตร เช่น การปลูกพืช จะท าให้มีค่าพีเอชในดิน
                       เพิ่มขึ้นได้ แม้ว่าจะไม่มีการใส่ปุ๋ยใด ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการหลงเหลือของเศษซากพืช ซึ่งส่งผลต่อการ
                       เพิ่มค่าพีเอช ในดิน ซึ่งจะดีกว่าการปล่อยให้เป็นพื้นที่ว่างเปล่า ในส่วนของค่าการน าไฟฟูาจะพบว่าทุก

                       ต ารับการทดลองมีปริมาณค่าความน าไฟฟูาอยู่ในระดับที่สูงขึ้นใกล้เคียงกันกับค่าการน าไฟฟูาก่อน
                       การทดลอง ซึ่งมีค่าเท่ากับมีค่าเท่ากับ 0.17 เดซิซีเมนต่อเมตร  โดยในต ารับการทดลองที่ 4 คือ การ
                       ใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงสูตรไนโตรเจน  600 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับ ปุ๋ยเคมีสูตร  0-0-60  จ านวน 5

                       กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งเป็นต ารับการทดลองที่มีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง ในปริมาณที่มากที่สุด จะท าให้
                       มีปริมาณค่าความน าไฟฟูาเหลืออยู่ในดินหลังการทดลองมากที่สุด คือที่ 0.43 เดซิซีเมนต่อเมตร
                                          2.3 ในส่วนของการเจริญเติบโตของผักคะน้าพบว่าต ารับการทดลองที่ 8  คือการใส่

                       ปุ๋ยเคมีสูตร 20-11-11  จ านวน  25  กิโลกรัมต่อไร่  ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงสูตรไนโตรเจน
                       จ านวน 50 กิโลกรัมต่อไร่ และปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงสูตรฟอสฟอรัส  จ านวน 25  กิโลกรัมต่อไร่ จะ
                       ท าให้ได้น้ าหนักสด และความสูงของต้นมากที่สุด ตั้งแต่เริ่มการทดลองในปีที่ 1 ถึงปีที่ 3 โดยมีน้ าหนัก

                       395.2  356.8 และ 402.5  กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ มีความสูงของต้นมากที่สุดที่  10.1 เซนติเมตร
                       และทุกต ารับการทดลองจะพบว่าในปีที่สุดท้ายจะมีการเพิ่มขึ้นของน้ าหนักสด และความสูงของต้น
                       ผักคะน้าทุกต ารับการทดลอง  ส่วนความกว้างใบ และจ านวนใบของผักคะน้าพบว่า ทุกต ารับการ
                       ทดลองจะมีขนาด และจ านวนใบที่ใกล้เคียงกัน

                                          2.4 จากคุณสมบัติของดิน ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพผักคะน้าที่เหมาะสมพอที่จะน า
                       ออกจ าหน่ายได้ แม้ว่าในปีสุดท้ายทุกต ารับการทดลองจะสามารถท าให้ ได้ผักคะน้าที่มีขนาดที่ใหญ่ขึ้น
                       แต่ก็พบว่ายังมีขนาดที่ไม่ดีเท่าที่ควร คือมีขนาดเล็กกว่าผักคะน้าที่จ าหน่ายทั่วไปในท้องตลาด พบว่า
                       ต ารับการทดลองที่ 8  คือการใส่ปุ๋ยเคมี 20-11-11  จ านวน 25  กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์

                       คุณภาพสูงสูตรไนโตรเจน  จ านวน 50  กิโลกรัมต่อไร่ และปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงสูตรฟอสฟอรัส
                       จ านวน 25  กิโลกรัมต่อไร่ จะให้ผลผลิตต่อไร่คิดเป็นน้ าหนักมากที่สุด คือ 376 กิโลกรัม ท าให้มีราคา
                       ที่ขายได้มากที่สุดที่  10,904   บาท  ซึ่งเมื่อหักค่าใช้จ่ายต่างๆ แล้วจะท าให้เหลือเงินมากที่สุดคือ
                       6,147  บาท  ซึ่งปัจจัยหลักที่ท าให้เหลือเงินสุทธิน้อยลงก็คือ ค่าวัสดุปุ๋ย

                                           2.5 จากการทดสอบการใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงเพื่อปรับสภาพดินทราย พบว่าการ
                       ใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงสามารถท าให้ดินทรายมีคุณสมบัติทางกายภาพ และทางเคมีที่สูงขึ้น
                       โดยเฉพาะการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในต ารับการทดลองที่ 4 ซึ่งเป็นอัตราการใช้ปุ๋ยของกรมพัฒนาที่ดิน และ
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68