Page 61 - ศักยภาพของพื้นที่ใช้ในการผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในระบบเกษตรอินทรีย์ของเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดยโสธร
P. 61

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       51







                                                             บทที่ 5
                                                         สรุปผลการศึกษา

                       5.1 สรุปผลการศึกษา

                              5.1.1 ศึกษาศักยภาพของพื้นที่การผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในระบบอินทรีย์ของเกษตรกร
                       ในพื้นที่จังหวัดยโสธร
                                     จังหวัดยโสธรมีพื้นที่ท าการเกษตรทั้งหมดจ านวน 1,536,777  ไร คิดเป็นร้อยละ
                       59.08 ของพื้นที่ทั้งหมด และมีการปลูกข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจอันดับ 1 ของจังหวัด โดยเกษตรกรสวน

                       ใหญท าการปลูกข้าวนาปี โดยมีเกษตรกรที่ท าการปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105  ดังนี้ อ าเภอเมืองยโสธร
                       มีพื้นที่ปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์ เท่ากับ 2,412.50 ไร่ อ าเภอกุดชุมมีพื้นที่ปลูกข้าวขาวดอก
                       มะลิ 105 อินทรีย์เท่ากับ 13,516.58 ไร่ อ าเภอปาติ้วมีพื้นที่ปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์
                       เท่ากับ 2,629.21 ไร่ อ าเภอมหาชนะชัยมีพื้นที่ปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์เท่ากับ 3,254.75

                       ไร่ อ าเภอเลิงนกทามีพื้นที่ปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์เท่ากับ 2,584.50 ไร่ อ าเภอทรายมูลมี
                       พื้นที่ปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์เท่ากับ 1,288.50  ไร่ อ าเภอคอวังมีพื้นที่ปลูกข้าวขาวดอก
                       มะลิ 105 อินทรีย์เท่ากับ 20,072 ไร่

                                     ศักยภาพของพื้นที่การผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในระบบเกษตรอินทรีย์ด้าน
                       กายภาพ ลักษณะของดินในพื้นที่ท าการเกษตรส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทรายลักษณะพื้นที่โดยรอบ
                       แปลงนาเป็นแปลงนาเกษตรอินทรีย์ ผลผลิตที่ได้เท่ากับ 351-400 กิโลกรัมต่อไร่ โดยเกษตรกรส่วน
                       ใหญ่ไว้ส าหรับบริโภคในครัวเรือนคิดเป็นร้อยละ 53.02 และอีกร้อยละ 47.08 ไว้ส าหรับจ าหน่าย ณ
                       โรงสีที่ใช้ส าหรับสีข้าวเป็นโรงสีกลุ่มเกษตรอินทรีย์ที่อยู่ในกลุ่มอินทรีย์ 10 กลุ่มของจังหวัดยโสธร

                              5.1.2 ศึกษากระบวนการผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในระบบเกษตรอินทรีย์ของเกษตรกรใน
                       พื้นที่จังหวัดยโสธร
                                     ข้าวอินทรีย์เป็นข้าวที่ได้จากการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์  ซึ่งเป็นวิธีการผลิตที่ไม่ใช้

                       สารเคมีทุกชนิด หรือสารสังเคราะห์ต่างๆ และปุ๋ยเคมีในทุกขั้นตอนการผลิต โดยเกษตรกรสามารถใช้
                       วัสดุจากธรรมชาติ และสารสกัดต่างๆ จากพืชที่ไม่มีสารพิษตกค้างในผลผลิตและสิ่งแวดล้อม ท าให้ผล
                       ผลิตข้าวมีคุณภาพดี  และเป็นการลดต้นทุนในการผลิตข้าวทั้งข้าวนาด าและนาหว่าน ท าให้มีผลผลิต
                       เพิ่มมากขึ้นรวมทั้งก าไรในการผลิตข้าวอินทรีย์ที่เพิ่มขึ้น

                                     กระบวนการผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในระบบเกษตรอินทรีย์ในเขตพื้นที่จังหวัด
                       ยโสธร ส่วนใหญ่มีวิธีการจัดการดินโดยใช้วิธีไม่เผาตอซัง ฟางข้าว และเศษวัสดุอินทรีย์ในแปลงนา
                       และไถแปลงนาข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์ โดยใช้รถไถใหญ่ ซึ่งก่อนการปลูกข้าวขาวดอกมะลิ
                       105 เกษตรกรท าการปรับปรุงบ ารุงดินโดยการใช้ปุ๋ยมูลสัตว์ (มูลวัว และมูลกระบือ) ส าหรับแหล่ง

                       วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตปุ๋ยเกษตรกรมีวัตถุดิบที่อยู่ในครัวเรือน โดยวัสดุที่ใช้แทนธาตุไนโตรเจนจะใช้
                       มูลสัตว์ แกลบดิน และซากสัตว์ ส่วนวัสดุที่ใช้แทนธาตุฟอสฟอรัส ธาตุโพแทสเซียม และแคลเซียม คือ
                       มูลสัตว์ ซากพืช และซากสัตว์ ส าหรับปุ๋ยน้ าหมักชีวภาพที่ใช้ในนาข้าวจะผลิตจากหอยเชอร์รี่ และ
                       เมล็ดพันธุ์ข้าวที่ใช้ปลูกใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 โดยวิธีการหว่าน ส าหรับการควบคุมวัชพืช

                       ใช้วิธีการถอนโดยมีอุปกรณ์ในการขุด พรวนดิน ปั่นดิน ส่วนวิธีการควบคุมโรคและแมลงในนาข้าวใช้
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66