Page 14 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการลดการเผาพื้นที่โล่งเตียนเพื่อบรรเทาภาวะโลกร้อน บ้านดอน หมู่ที่ 5 ตำบลสวด อำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน
P. 14
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
6
- ค่าปัจจัยการกัดกร่อนของฝน (rainfall and run off erosivity factor)
- ค่าปัจจัยความคงทนของดิน (soil erodibility factor)
- ค่าปัจจัยความยาวของความลาดเอียง (slope length factor)
- ค่าปัจจัยความลาดชัน (slope steepness factor)
- ค่าปัจจัยพืชและการจัดการ (crop management factor)
- ค่าปัจจัยมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า (conservation practice factor)
(2) ข้อมูลการประเมินปริมาณน้ าไหลบ่าโดย Rational Method ประกอบด้วย
ข้อมูลดังนี้
กำรประเมินอัตรำน้ ำไหลบ่ำ (ลูกบำศก์เมตร/วินำที)
สูตร q = CiA (2)
360
- ค่าสัมประสิทธิ์ของน้ าไหลบ่า (C)
- ความรุนแรงของน้ าฝนมีหน่วยเป็น มิลลิเมตรต่อชั่วโมง (i)
- พื้นที่ของบริเวณรับน้ า มีหน่วยเป็นเฮกตาร์ (A)
กำรประเมินปริมำณน้ ำไหลบ่ำ (ลูกบำศก์เมตร)
สูตร Q = CIA (3)
- ค่าสัมประสิทธิ์ของน้ าไหลบ่า (C)
- ปริมาณน้ าฝนมีหน่วยเป็น มิลลิเมตร (I)
- พื้นที่ของบริเวณรับน้ า มีหน่วยเป็นเฮกตาร์(A)
(3) ข้อมูลด้านดิน
การเก็บตัวอย่างดินก่อนปลูกพืชที่ระดับความลึก 0-15เซนติเมตร ก่อนและหลัง
ด าเนินงาน เพื่อเปรียบเทียบคุณสมบัติทางเคมีดินในพื้นด าเนินงานจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ าตามดินที่
พบ เพื่อบันทึกข้อมูลสมบัติทางเคมีของดิน คือ
- ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH)
- ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอร์เซ็นต์)
- ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)
- โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)
1.4.3 วิธีด าเนินการ
1) ก่อสร้างงานจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ าได้ด าเนินการในพื้นที่ 590 ไร่ พื้นที่บ้าน
ดอน หมู่ที่ 5 ต าบลสวด อ าเภอบ้านหลวงจังหวัดน่านเนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่ลาดชันลักษณะ