Page 86 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านแม่จว้าปันเจิง หมู่ที่ 7 ตำบลแม่สุก อำเภอแม่ใจ และบ้านใหม่นคร หมู่ที่ 8 ตำบลบ้านใหม่ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำน้ำแม่อิงเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำอิงตอนบน (รหัส 0204) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำโขง (รหัส 02)
P. 86

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                     65





                             7.1.13 สรุปผลการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลด้านกายภาพและสภาพปัญหา เขตพัฒนา

                  ที่ดินลุ่มน้ าน้ าแม่อิงตอนบนเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) จังหวัดพะเยา

                                เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้้าน้้าแม่อิงตอนบนเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) จังหวัดพะเยา อยู่ใน
                  ลุ่มน้้าน้้าแม่อิงเขตที่ 2 (หนองเล็งทราย) ลุ่มน้้าสาขาแม่น้้าอิงตอนบน (รหัส 0204) ลุ่มน้้าหลักแม่น้้าโขง
                  (รหัส 02) มีเนื้อที่ 345,590  ไร่ อยู่สูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ 392-1,435 เมตร สภาพพื้นที่
                  ราบเรียบถึงพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ

                                สภาพทางน้้ามีทิศทางการไหลจากทิศตะวันตกไปสู่ทิศตะวันออก เนื่องจากเป็นล้าน้้าสายเล็กๆ
                  ซึ่งปริมาณน้้าจะขึ้นอยู่กับปริมาณฝนในแต่ละปี พื้นที่เกษตรกรรมส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นอกเขตชลประทาน
                  ซึ่งต้องใช้น้้ามากเพื่อการเพาะปลูกโดยเฉพาะพื้นที่ปลูกข้าว แต่ในเขตพัฒนาที่ดินยังมีพื้นที่แหล่งน้้าอยู่

                  ค่อนข้างน้อย ซึ่งอาจท้าให้เกิดปัญหาขาดแคลนน้้าได้
                                สภาพการใช้ที่ดิน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เกษตรกรรม พบว่า พื้นที่ส่วนใหญ่ท้านาข้าว
                  รองลงมาเป็นพื้นที่ปลูกไม้ผล ได้แก่ ลิ้นจี่และล้าไย ไม้ยืนต้น ได้แก่ ยางพาราและสัก พืชไร่ ได้แก่
                  ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ รองลงมาเป็นพื้นที่ป่าไม้ ได้แก่ ป่าไม้ผลัดใบ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง พื้นที่น้้า

                  และพื้นที่เบ็ดเตล็ด ตามล้าดับ
                                ทรัพยากรดินที่พบจ้าแนกได้ 16 หน่วยแผนที่ ประกอบด้วย
                                  - กลุ่มชุดดินในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่น้้าขัง ที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินเหนียวละเอียด ดินลึกมาก
                  เกิดจากการทับถมของตะกอนล้าน้้า การระบายน้้าเลวถึงค่อนข้างเลว ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติ

                  ต่้าถึงปานกลาง ได้แก่ หน่วยแผนที่ 5 6 และ 7 มีเนื้อที่ 72,738 ไร่ หรือร้อยละ 31.00 และกลุ่มชุดดินที่มี
                  เนื้อดินพวกดินทรายแป้ง ดินร่วนละเอียด ดินลึกมาก เกิดจากวัตถุต้นก้าเนิดดินพวกตะกอนหรือสลายตัว
                  ผุพังอยู่กับที่ ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติต่้าถึงปานกลาง ได้แก่ หน่วยแผนที่ 15 18 มีเนื้อที่
                  17,228 ไร่ หรือร้อยละ 7.35

                                  - กลุ่มชุดดินในพื้นที่ดอน ที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วนละเอียด ลึกมาก เกิดจากการทับถม
                  ของตะกอนล้าน้้าหรือสลายตัวผุพังของหินเนื้อหยาบ การระบายน้้าดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์
                  ของดินตามธรรมชาติต่้า ได้แก่ หน่วยแผนที่ 35gm 35gmB 35B และ 35C มีเนื้อที่ 37,164 ไร่ หรือร้อยละ

                  15.84 กลุ่มชุดดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินเหนียวปนชิ้นส่วนเนื้อหยาบ ดินตื้น เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่
                  การระบายน้้าดี ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติต่้า ได้แก่ หน่วยแผนที่ 48C 48D 48E มีเนื้อที่
                  12,713 ไร่ หรือร้อยละ 5.42 กลุ่มชุดดินที่มีเนื้อดินเป็นดินร่วนละเอียด ลึกปานกลางถึงชั้นดินที่มีเศษหิน
                  การระบายน้้าดี ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติต่้า ได้แก่ หน่วยแผนที่ 56C มีเนื้อที่ 7,360 ไร่
                  หรือร้อยละ 3.14

                                  - กลุ่มชุดดินที่ 62 พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่
                  65,494 ไร่ หรือร้อยละ 27.92
                                  - พื้นที่เบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 21,893 ไร่ หรือร้อยละ 9.33 ได้แก่ หน่วยแผนที่ U และ W
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91