Page 76 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 76

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       55




                                   โดยทั้งสองกลุ่มชุดดินไม่สามารถแยกขอบเขตออกจากกันได้

                                   ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน: เป็นดินตื้นถึงลึกปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า
                   ขาดแคลนน้ าในระยะที่ฝนทิ้งช่วงนาน พื้นที่ที่มีความลาดชันจะเกิดการชะล้างพังทลายสูญเสียหน้าดินได้ง่าย
                                   หน่วยรวมของกลุ่มชุดดินที่ 48 และกลุ่มชุดดินที่ 56 ที่พบเป็นหน่วยรวมของกลุ่มชุด
                   ดินที่ 48 และ 56 อัตราส่วน 50:50 มีความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 471 ไร่ หรือร้อยละ 0.04

                   ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา
                                   51) หน่วยรวมของกลุ่มชุดดินที่ 48 และกลุ่มชุดดินที่ 62
                                    กลุ่มชุดดินที่ 48 เป็นกลุ่มดินที่มีเนื้อดินบนส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทราย ดินล่างเป็น
                   ดินปนเศษหินหรือปนกรวด พบตื้นกว่า 50 เซนติเมตร พบในเขตดินแห้ง เป็นดินตื้นมาก มีการระบายน้ า

                   ของดินดี ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดแก่ ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติต่ า
                                    ส่วนกลุ่มดินที่ 62 ประกอบด้วยพื้นที่ภูเขาและเทือกเขาซึ่งมีความลาดชันมากกว่า 35
                   เปอร์เซ็นต์ ดินที่พบบริเวณดังกล่าวมีทั้งดินลึกและดินตื้น ลักษณะของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณ์ตาม
                   ธรรมชาติแตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิดของหินต้นก าเนิดในบริเวณนั้น มักมีเศษหิน ก้อนหิน หรือหินพื้นโผล่

                   กระจัดกระจายทั่วไป
                                   โดยทั้งสองกลุ่มชุดดินไม่สามารถแยกขอบเขตออกจากกันได้
                                   ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน: สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด สลับกับพื้นที่มีความลาด

                   ชันสูง ดินตื้นถึงลึก ขาดแคลนน้ าในระยะฝนทิ้งช่วงนาน พื้นที่เสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายสูญเสียหน้าดิน
                   อย่างรุนแรงและท าลายระบบนิเวศวิทยาของสิ่งแวดล้อมและป่าไม้ จึงควรมีการศึกษาดินก่อนและท า
                   การเกษตรแบบวนเกษตร เพื่อรักษาระบบนิเวศของป่าไม้ไม่ให้เสื่อมโทรม
                                   หน่วยรวมของกลุ่มชุดดินที่ 48 และกลุ่มชุดดินที่ 62 ที่พบเป็นหน่วยรวมของกลุ่มชุด
                   ดินที่ 48 และ 62 อัตราส่วน 50:50 มีความลาดชัน 5->35 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 3,108 ไร่ หรือร้อยละ

                   0.23 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา
                                   52) หน่วยรวมของกลุ่มชุดดินที่ 51 และกลุ่มชุดดินที่ 53
                                   กลุ่มชุดดินที่ 51 เป็นกลุ่มชุดดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วนปนเศษหิน พบในเขตดินชื้น

                   เป็นดินตื้นหรือตื้นมาก มีการระบายน้ าของดินดี ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด ความอุดม
                   สมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติต่ า
                                   ส่วนกลุ่มชุดดินที่ 53 เป็นกลุ่มชุดดินที่มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนหรือดินร่วนปนดินเหนียว
                   พบดินปนลูกรังหรือดินปนเศษหินผุพวกหินดินดาน ในระดับความลึก 50-100 เซนติเมตร พบในเขตดินชื้น

                   มีการระบายน้ าของดินดี ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด ความอุดมสมบูรณ์ของดินตาม
                   ธรรมชาติต่ า
                                   โดยทั้งสองกลุ่มชุดดินไม่สามารถแยกขอบเขตออกจากกันได้
                                   ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน: เป็นดินตื้นถึงลึกปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ต่ า ขาด

                   แคลนน้ าในระยะฝนทิ้งช่วงนาน พื้นที่ที่มีความลาดชันจะเกิดการชะล้างพังทลายสูญเสียหน้าดินได้ง่าย
                                   หน่วยรวมของกลุ่มชุดดินที่ 51 และกลุ่มชุดดินที่ 53 ที่พบเป็นหน่วยรวมของกลุ่มชุด
                   ดินที่ 51 และ 53 อัตราส่วน 50:50 มีความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 202 ไร่ หรือร้อยละ 0.02
                   ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81