Page 71 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 71

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       50




                                   ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน: เป็นดินตื้นถึงลึกปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติ

                   ต่ าขาดแคลนน้ าในระยะที่ฝนทิ้งช่วงนาน ในพื้นลุ่มมีน้ าท่วมขังในฤดูฝน
                                   หน่วยรวมของกลุ่มชุดดินที่ 25 และกลุ่มชุดดินที่ 56 ที่พบเป็นหน่วยรวมของกลุ่มชุด
                   ดินที่ 25 และ 56 อัตราส่วน 50:50 มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 1,905 ไร่ หรือร้อยละ 0.14
                   ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา

                                   38) หน่วยรวมของกลุ่มชุดดินที่ 26 และกลุ่มชุดดินที่ 32
                                   กลุ่มชุดดินที่ 26 เป็นกลุ่มชุดดินที่มีเนื้อดินบนเป็นพวกดินร่วน ส่วนดินล่างเป็นพวก
                   ดินเหนียว พบในเขตดินชื้น เกิดจากการสลายตัวของหินต้นก าเนิดดินชนิดต่างๆ เป็นดินลึกมาก การ
                   ระบายน้ าของดินดี ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติ

                   ปานกลางถึงค่อนข้างต่ า
                                   ส่วนกลุ่มชุดดินที่ 32 เป็นกลุ่มชุดดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วน ดินร่วนปนทรายแป้ง
                   หรือทรายละเอียด พบในเขตดินชื้น เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดินพวกตะกอนล าน้ า พบบนสันดินริมน้ าเก่า
                   เป็นดินลึกมาก มีการระบายน้ าของดินดี ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด ความอุดมสมบูรณ์ของ

                   ดินตามธรรมชาติค่อนข้างต่ า
                                   จากการวิเคราะห์ข้อมูลดินกลุ่มชุดดินที่ 32 ตามวัตถุต้นก าเนิด ความอุดมสมบูรณ์
                   ควรอยู่ในระดับปานกลาง แต่เนื่องจากเป็นการศึกษาข้อมูลตามกลุ่มชุดดินจังหวัดระยอง มาตราส่วน 1: 50,000

                   จึงคงไว้ตามค าอธิบายเดิม
                                   โดยทั้งสองกลุ่มชุดดินไม่สามารถแยกขอบเขตออกจากกันได้
                                   ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน: ความอุดมสมบูรณ์ต่ า ขาดแคลนน้ าในระยะฝนทิ้งช่วง
                   ในพื้นลุ่มมีน้ าท่วมขังในฤดูฝน
                                   หน่วยรวมของกลุ่มชุดดินที่ 26 และกลุ่มชุดดินที่ 32 ที่พบเป็นหน่วยรวมของกลุ่ม

                   ชุดดินที่ 26 และ 32 อัตราส่วน 50:50 มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 26,861 ไร่ หรือร้อยละ
                   2.01 ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา
                                   39) หน่วยรวมของกลุ่มชุดดินที่ 26 และกลุ่มชุดดินที่ 34

                                   กลุ่มชุดดินที่ 26 เป็นกลุ่มชุดดินที่มีเนื้อดินบนเป็นพวกดินร่วน ส่วนดินล่างเป็นพวก
                   ดินเหนียว พบในเขตดินชื้น เกิดจากการสลายตัวของหินต้นก าเนิดดินชนิดต่างๆ เป็นดินลึกมาก การ
                   ระบายน้ าของดินดี ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติ
                   ปานกลางถึงค่อนข้างต่ า

                                   ส่วนกลุ่มชุดดินที่ 34 เป็นกลุ่มชุดดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วนเหนียวปนทราย พบ
                   ในเขตดินชื้น เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดินพวกตะกอนล าน้ า เป็นดินลึกมาก มีการระบายน้ าของดินดี
                   ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติค่อนข้างต่ า
                                   โดยทั้งสองกลุ่มชุดดินไม่สามารถแยกขอบเขตออกจากกันได้

                                   ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน: ความอุดมสมบูรณ์ต่ า ขาดแคลนน้ าในระยะฝนทิ้งช่วง
                   ในพื้นลุ่มมีน้ าท่วมขังในฤดูฝน
                                   หน่วยรวมของกลุ่มชุดดินที่ 26 และกลุ่มชุดดินที่ 34 ที่พบเป็นหน่วยรวมของกลุ่มชุด
                   ดินที่ 26 และ 34 อัตราส่วน 50:50 มีความลาดชัน 0-5 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 34,705 ไร่ หรือร้อยละ 2.60

                   ของพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76