Page 35 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       24




                                     (2) การปฏิบัติงานในภาคสนาม

                                     การส ารวจดินและการส ารวจสภาพการใช้ที่ดิน เป็นการส ารวจแบบละเอียดโดยใช้
                   แผนที่ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข มาตราส่วน 1:4,000 เป็นแผนที่พื้นฐานในการส ารวจ แผนที่ดินที่ผลิตออกมา
                   มีมาตราส่วนการส ารวจ 1:4,000 โดยมีวิธีการส ารวจดังนี้
                                          - เจาะส ารวจดินตามจุดที่ก าหนดไว้ในแผนที่ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข หรือใน

                   บริเวณพื้นที่ที่มีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดเจน โดยใช้สว่านเจาะดินลึก 200 เซนติเมตร หรือถึงชั้น
                   เชื่อมแข็งหรือแนวสัมผัสชั้นหินพื้น วางเรียงกันตามความลึก เพื่อตรวจศึกษาสมบัติทางเคมีและทาง
                   กายภาพของดินทุกจุดด้วยเครื่องมือตรวจวัดภาคสนาม
                                          - บันทึกสภาพแวดล้อมบริเวณพื้นที่ศึกษา ได้แก่ วัตถุต้นก าเนิดดิน ภูมิสัณฐาน

                   ความลาดชัน การกร่อนของหน้าดิน การระบายน้ าของดิน ความสามารถให้น้ าซึมผ่านของดิน ระดับน้ าใต้ดิน
                   สภาพน้ าท่วมขัง พืชพรรณและการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                                          - ศึกษาลักษณะสมบัติดินเพื่อใช้ในการจ าแนกดิน เช่น ความหนาของชั้นดิน เนื้อดิน
                   สีดิน โครงสร้างของดิน การยึดตัวของอนุภาคดิน การเคลื่อนย้ายของอนุภาคดินเหนียว ปริมาณการ

                   กระจายของรากพืช ค่าปฏิกิริยาดิน การจัดเรียงตัวของชั้นดิน ชนิดของชิ้นส่วนหยาบในดิน หรือวัตถุต่างๆ ที่
                   พบในชั้นดิน เช่น ก้อนกรวด ลูกรังและเศษหิน เป็นต้น
                                          - จ าแนกดินตามระบบอนุกรมวิธานดิน (Soil Survey Staff, 2014) ใน

                   ระดับประเภทของชุดดินและดินคล้าย (phases of soil series or soil variants) เขียนหน่วยแผนที่ดิน
                   ลงในภาพถ่ายออร์โธสีพร้อมทั้งปรับแก้ไขขอบเขตของดินในภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลขให้สอดคล้องกับสภาพ
                   พื้นที่จริงในสนาม
                                          - ศึกษาสภาพการใช้ที่ดิน เขียนหน่วยแผนที่สภาพการใช้ที่ดิน พร้อมทั้งปรับแก้
                   ไขขอบเขตลงในภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลขให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่จริงในสนาม

                                          - บันทึกลักษณะดิน สภาพพื้นที่ และเก็บตัวอย่างดินบริเวณที่เป็นตัวแทน
                   ของหน่วยแผนที่ดิน ส าหรับน าไปวิเคราะห์หาสมบัติทางเคมี เพื่อประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน
                                          - จัดท าแผนที่ดินและแผนที่สภาพการใช้ที่ดิน (ฉบับต้นร่าง)

                                          - เก็บตัวอย่างดิน จุดส ารวจที่ระดับความลึก 0-25 เซนติเมตร 25-50 เซนติเมตร
                   และ 50-100 เซนติเมตร หรือจนถึงชั้นขวาง ส่งกลุ่มวิเคราะห์ดิน ส านักงานพัฒนาที่ดินเขต 2 เพื่อวิเคราะห์
                   ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (pH 1:1 น้ า)  ปริมาณอินทรียวัตถุ (Walkey and Black Method) ปริมาณ
                   ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (Bray ll method) และปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ (Double Acid: DA)

                                     (3) การจัดท าแผนที่ดิน แผนที่สภาพการใช้ที่ดินและรายงานการส ารวจดิน
                                          - จัดท าแผนที่ดินและแผนที่สภาพการใช้ที่ดินต้นฉบับ และสรุปหน่วยแผนที่
                   ทั้งหมดในพื้นที่โครงการ
                                          - วิเคราะห์ข้อมูลดิน สภาพการใช้ที่ดินและสภาพแวดล้อมในพื้นที่โครงการ

                   เพื่อประเมินความเหมาะสมของดินส าหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ และประเมินความเหมาะสมของดิน
                   ส าหรับงานทางด้านปฐพีกลศาสตร์
                                          - เขียนรายงานการส ารวจดิน
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40