Page 109 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหวาย-คลองโพล้ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์(รหัส 1805) ลุ่มน้ำหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก(รหัส 18) พื้นที่ดำเนินการโครงการ บ้านคลองป่าไม้ หมู่ 6 บ้านเขาผักกูด หมู่ 7 ตำบลกระแสบน อำเภอแกลง จังหวัดระยอง
P. 109

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       83




                   สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ การระบายน้ าของดินดีถึงดีปาน

                   กลาง ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า
                                   ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย สีน้ าตาลปนเทา สีน้ าตาล ปฏิกิริยาดินเป็นกรด
                   จัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 5.5-6.5 ส่วนดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วน
                   เหนียวปนทราย สีน้ าตาล ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ

                   5.0-5.5 พบชั้นดินที่มีเศษหินปริมาณเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 35 โดยปริมาตร อยู่บนชั้นหินพื้นในช่วง
                   ความลึก 50-100 เซนติเมตรจากผิวดิน
                                   ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน: ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติต่ า เนื้อดินเป็น
                   ดินปนทราย พื้นที่ลาดชันดินเกิดการชะล้างพังทลายได้ง่าย และขาดแคลนน้ า

                                   กลุ่มชุดดินที่ 56 ที่พบมีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 812 ไร่ หรือร้อยละ
                   0.50 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน
                                   15) กลุ่มชุดดินที่ 62
                                   กลุ่มดินนี้ประกอบด้วยพื้นที่ภูเขาและเทือกเขาซึ่งมีความลาดชันมากกว่า 35

                   เปอร์เซ็นต์ ดินที่พบบริเวณดังกล่าวมีทั้งดินลึกและดินตื้น ลักษณะของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณ์ตาม
                   ธรรมชาติแตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิดของหินต้นก าเนิดในบริเวณนั้น มักมีเศษหิน ก้อนหิน หรือหินพื้นโผล่
                   กระจัดกระจายทั่วไป กลุ่มชุดดินนี้ มีเนื้อที่ 3,243 ไร่ หรือร้อยละ 1.98 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน

                                   ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน: สภาพพื้นที่มีความลาดชันสูง ท าให้เป็นอุปสรรคต่อการ
                   เกษตรกรรม ยากต่อการดูแลรักษา เสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายสูญเสียหน้าดินอย่างรุนแรงและท าลาย
                   ระบบนิเวศวิทยาของสิ่งแวดล้อมและป่าไม้ จึงควรมีการศึกษาดินก่อนและท าการเกษตรแบบวนเกษตร
                   เพื่อรักษาระบบนิเวศของป่าไม้ไม่ให้เสื่อมโทรม
                                   16) พื นที่เบ็ดเตล็ด พบ 2 หน่วยแผนที่ มีเนื้อที่ 7,968 ไร่ หรือร้อยละ 4.87 ของ

                   พื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน ได้แก่ ที่อยู่อาศัย และพื้นที่น้ า


                                 7.2.9 ความเหมาะสมของดินส าหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ
                                 การประเมินความเหมาะสมของดินส าหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ ตามวิธีการประเมินของ
                   กองส ารวจและจ าแนกดิน (2543) โดยจ าแนกออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ เหมาะสม ไม่ค่อยเหมาะสม และไม่

                   เหมาะสม สามารถจัดชั้นความเหมาะสมของดินในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าคลองหวาย-คลองโพล้ ส าหรับ
                   การปลูกข้าว พืชไร่ ไม้ยืนต้น ไม้ผล และหญ้าเลี้ยงสัตว์ ดังแสดงในตารางที่ 10 และได้น าข้อมูลจากการจัด
                   ชั้นความเหมาะสมดังกล่าวมาสรุปชั้นความเหมาะสมส าหรับการปลูกเศรษฐกิจ (ตารางที่ 11 และภาพที่ 15)
                   ได้ดังนี้

                                   1) ดินมีความเหมาะสมส าหรับปลูกข้าว ในหน่วยแผนที่ดิน 7 มีเนื้อที่ 899 ไร่ หรือร้อยละ
                   0.55 ของพื้นที่
                                   2)  ดินมีความเหมาะสมส าหรับปลูกข้าว โดยมีข้อจ ากัดเล็กน้อยเรื่องความอุดมสมบูรณ์

                   ของดินต่ า ในหน่วยแผนที่ดิน 6 มีเนื้อที่ 6,678 ไร่ หรือร้อยละ 4.08 ของพื้นที่
                                   3) ดินมีความเหมาะสมส าหรับปลูกข้าว โดยมีข้อจ ากัดเล็กน้อยที่ดินมีจาโรไซต์ภายใน
                   100 เซนติเมตร มีปฏิกิริยาดินเป็นกรดรุนแรงมาก และมีความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า ในหน่วยแผนที่ดิน
                   11 และ 14 มีเนื้อที่ 9,260 ไร่ หรือร้อยละ 5.65 ของพื้นที่
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114