Page 39 - รายงานการสำรวจดินและสภาพการใช้ที่ดิน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลสามพระยา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี
P. 39
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
28 ร า ย ง า น การส�ารวจดิน
7) ชุดดินสัตหีบ
กำรจ�ำแนกดิน Sandy, isohyperthermic, Ustic Quartzipsamments
สภำพพื้นที่ ค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ความลาดชัน 1-5%
ภูมิสัณฐำน พื้นที่เหลือค้างจากการกัดกร่อน
วัตถุต้นก�ำเนิด เกิดจากการสลายตัวผุพังของหินแกรนิตหรือแกรนิตไนส์
กำรระบำยน�้ำ ค่อนข้างมาก
กำรซึมผ่ำนได้ของน�้ำ เร็ว กำรไหลบ่ำของน�้ำบนผิวดิน ปานกลาง
กำรใช้ประโยชน์ ป่าเต็งรัง ป่าปลูก เช่น กระถินยักษ์ กร่าง ก้ามปู ขี้เหล็ก สะเดา ประดู่ ยางนา
ลักษณะดิน เป็นดินลึกมาก เนื้อดินเป็นดินทรายหรือดินทรายปนดินร่วนตลอดหน้าตัดดิน มีสีเทาปนชมพู
ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ในดินบน และปฏิกิริยาดิน
เป็นกรดปานกลางถึงกรดเล็กน้อย (pH 6.0-6.5) ในดินล่าง
ข้อจ�ำกัด ดินเป็นทรายจัด มีความอุดมสมบูรณ์ของดินต�่า ความสามารถในการอุ้มน�้าของดินต�่ามาก
และเสี่ยงต่อการขาดแคลนน�้า
ข้อเสนอแนะ โดยทั่วๆ ไป ไม่เหมาะสมที่จะน�ามาใช้ปลูกพืชเศรษฐกิจ ควรใช้ปลูกไม้โตเร็วสร้างสวนป่า
หรือท�าทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์
ชุดดินสัตหีบ มี 2 ประเภท คือ
หน่วยแผนที่ดินที่ 8 : ชุดดินสัตหีบ ประเภทที่มีเนื้อดินบนเป็นดินทรายปนดินร่วน มีความลาดชัน
0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 2,686 ไร่ หรือร้อยละ 27.49 ของพื้นที่
หน่วยแผนที่ดินที่ 9 : ชุดดินสัตหีบ ประเภทที่มีเนื้อดินบนเป็นดินทรายปนดินร่วน มีความลาดชัน
2-5 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 1,033 ไร่ หรือร้อยละ 10.57 ของพื้นที่