Page 38 - รายงานการสำรวจดินและสภาพการใช้ที่ดิน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลสามพระยา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี
P. 38

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน



                                                                   ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ  27



                  6) ดินคล้ำยชุดดินมำบบอนที่เป็นดินร่วนหยำบและพบชั้นหินพื้นผุที่ระดับควำมลึก 100-150 เซนติเมตร

                  กำรจ�ำแนกดิน        Coarse-loamy, mixed, isohyperthermic Typic Paleustalfs

                  สภำพพื้นที่         ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์

                  ภูมิสัณฐำน          พื้นที่เหลือค้างจากการกัดกร่อน


                  วัตถุต้นก�ำเนิด     เกิดจากการสลายตัวผุพังของหินแกรนิตหรือแกรนิตไนส์

                  กำรระบำยน�้ำ        ดี

                  กำรซึมผ่ำนได้ของน�้ำ  เร็ว     กำรไหลบ่ำของน�้ำบนผิวดิน  ปานกลางถึงเร็ว

                  กำรใช้ประโยชน์      พืชไร่ ป่าปลูก เช่น กระถินณรงค์ สะเดา สน ไผ่ ขี้เหล็ก กระถินยักษ์

                  ลักษณะดิน           เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินทรายปนดินร่วน สีน�้าตาลถึงสีเหลืองปนแดง ปฏิกิริยาดิน

                                      เป็นกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) ดินล่างเป็นดินร่วนปนทราย มีสีเหลืองปนแดงและ
                                      พบชั้นหินผุในระดับความลึก 100-150 เซนติเมตร ดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง

                                               (pH 5.0-6.0)

                  ข้อจ�ำกัด           มีความอุดมสมบูรณ์ต�่า มีเนื้อดินเป็นดินค่อนข้างเป็นทรายและมีความสามารถในการ

                                      อุ้มน�้าน้อย เสี่ยงต่อการขาดแคลนน�้า

                  ข้อเสนอแนะ          เหมาะสมส�าหรับปลูกพืชไร่ ไม้ผล พืชอาหารสัตว์ ควรใช้ปลูกไม้โตเร็ว สร้างสวนป่า
                                               หรือท�าทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์

                        ดินคล้ำยชุดดินมำบบอนที่เป็นสีแดง มี 1 ประเภท คือ


                        หน่วยแผนที่ดินที่ 7 :  ดินคล้ายชุดดินมาบบอนที่เป็นดินร่วนหยาบ ประเภทที่มีเนื้อดินบนเป็นดินทราย
                  ปนดินร่วน มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ และพบชั้นหินพื้นผุที่ระดับความลึก 100-150 เซนติเมตร มีเนื้อที่ 44 ไร่

                  หรือร้อยละ 0.45 ของพื้นที่
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43