Page 63 - รายงานการสำรวจดินและสภาพการใช้ที่ดิน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลคลองขุด อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี
P. 63

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


            54    ร า ย ง า น การส�ารวจดิน




            8. สรุปและข้อเสนอแนะ

                   พื้นที่ที่ท�ำกำรส�ำรวจ ด�ำเนินกำรอยู่ในพื้นที่ บริเวณศูนย์กลำงของศูนย์ศึกษำกำรพัฒนำอ่ำวคุ้งกระเบนฯ

            โดยครอบคลุม 6 หมู่บ้ำน ได้แก่ บ้ำนท่ำแคลง ต�ำบลสนำมไชย อ�ำเภอนำยำยอำม บ้ำนคลองขุดบน
            บ้ำนคลองขุดล่ำง บ้ำนเนินประดู่ บ้ำนหมูดุด บ้ำนคุ้งกระเบน ต�ำบลคลองขุด อ�ำเภอท่ำใหม่ จังหวัดจันทบุรี

            มีพื้นที่ 8,015 ไร่

                   จำกกำรศึกษำวิเครำะห์ทรัพยำกรดินและสภำพกำรใช้ที่ดิน พื้นที่บริเวณโครงกำรศูนย์ฯ สภำพกำรใช้ที่ดิน
            ประกอบด้วย พื้นที่เกษตรกรรม มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 1,306 ไร่ หรือร้อยละ 16.28 ของเนื้อที่โครงกำร พื้นที่ป่ำไม้

            ซึ่งส่วนใหญ่เป็นป่ำชำยเลน มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 2,284 ไร่ หรือร้อยละ 28.50 ของเนื้อที่โครงกำร ทุ่งหญ้ำเลี้ยงสัตว์
            มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 37 ไร่ หรือร้อยละ 0.46 ของเนื้อที่โครงกำร พื้นที่เพำะเลี้ยงสัตว์น�้ำ มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 2,430 ไร่

            หรือร้อยละ 30.32 ของเนื้อที่โครงกำร พื้นที่ ที่อยู่อำศัย โรงแรม ชุมชน มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 829 ไร่ หรือร้อยละ
            10.34 ของเนื้อที่โครงกำร พื้นที่ส�ำนักงำน สถำนที่รำชกำร มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 162 ไร่ หรือร้อยละ 2.02 ของเนื้อที่

            โครงกำร พื้นที่ทิ้งร้ำง เนื้อที่รวมทั้งสิ้น 790 ไร่ หรือร้อยละ 9.86 ของเนื้อที่โครงกำร พื้นที่น�้ำ มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น
            177 ไร่หรือร้อยละ 2.22 ของเนื้อที่โครงกำร


                   ทรัพยำกรดินที่เป็นปัญหำหลัก ได้แก่ ดินทรำยจัดบริเวณหำดทรำยเก่ำ มีเนื้อที่ 383 ไร่ หรือ ร้อยละ
            4.78 ของพื้นที่ทั้งหมด ดินทรำยจัดที่มีชั้นดำนอินทรีย์บริเวณหำดทรำยเก่ำ มีเนื้อที่ 928 ไร่ หรือร้อยละ
            11.57 ของพื้นที่ทั้งหมด ดินทรำยในพื้นที่ลุ่ม มีเนื้อที่ 1331 ไร่ หรือร้อยละ 16.61 ของพื้นที่ทั้งหมด ดินเค็มบริเวณ

            ป่ำชำยเลนที่เป็นดินอินทรีย์ มีเนื้อที่ 898 ไร่ หรือร้อยละ 11.2 ของพื้นที่ทั้งหมด ดินเค็มบริเวณป่ำชำยเลน

            ที่เป็นดินทรำย มีเนื้อที่ 315 ไร่ หรือร้อยละ 3.93 ของพื้นที่ทั้งหมด ดินตื้นปนเศษหิน มีเนื้อที่ 329 ไร่ หรือร้อยละ
            4.11 ของพื้นที่ทั้งหมด ดินตื้นปนลูกรัง มีเนื้อที่ 441 ไร่ หรือร้อยละ 5.5 ของพื้นที่ทั้งหมด ดินขำดควำม
            อุดมสมบูรณ์ มีเนื้อที่ 384 ไร่ หรือร้อยละ 4.79 ของพื้นที่ทั้งหมด ดินในพื้นที่สูง มีเนื้อที่ 516 ไร่ หรือร้อยละ 6.44

            ของพื้นที่ทั้งหมด พื้นที่อื่นๆ มีเนื้อที่ 2,490 ไร่ หรือร้อยละ 31.07 ของพื้นที่ทั้งหมด

                   ดินเค็มบริเวณป่ำชำยเลนที่เป็นดินอินทรีย์ และดินเค็มบริเวณป่ำชำยเลนที่เป็นดินทรำย เป็นดินที่ไม่เหมำะสม

            ในกำรน�ำมำใช้ทำงด้ำนกำรเกษตรเพื่อกำรปลูกพืชเศรษฐกิจ เพรำะจะส่งผลกระทบอย่ำงรุนแรงต่อระบบ
            นิเวศวิทยำชำยฝั่ง จึงควรสงวนไว้เป็นป่ำชำยเลนตำมสภำพปัจจุบัน เพื่อเป็นที่อยู่อำศัยและแพร่ขยำยพันธุ์ของ

            สัตว์ทะเลต่ำงๆ หรือเป็นสถำนที่ศึกษำธรรมชำติ หรือถ้ำจ�ำเป็นจะต้องใช้ ควรท�ำประมงชำยฝั่งแบบระบบปิด
            ซึ่งเป็นวิธีกำรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมตำมแนวพระรำชด�ำริ

                   ดินทรำยจัด และดินทรำยที่มีชั้นดำนอินทรีย์ และดินที่มีควำมอุดมสมบูรณ์ต�่ำ เป็นดินที่มีควำมอุดมสม

            บูรณ์ของดินต�่ำมำก มีปัญหำขำดธำตุอำหำรอย่ำงรุนแรง และมีชั้นดำนอินทรีย์ขัดขวำงกำรเจริญเติบโตของรำกพืช
            ควรมีกำรปรับปรุงบ�ำรุงเพิ่มควำมอุดมสมบูรณ์ของดินด้วยกำรเติมอินทรียวัตถุ ในรูปแบบต่ำงๆ และควรเลือก

            ชนิดของพืชที่เหมำะสม เช่น พืชล้มลุกหรือพืชผัก ปลูกหญ้ำเลี้ยงสัตว์หรือปล่อยให้เป็นป่ำเสม็ดตำมธรรมชำติ
            ที่เป็นอยู่
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68