Page 21 - รายงานการสำรวจดินและสภาพการใช้ที่ดิน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลคลองขุด อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


            12    ร า ย ง า น การส�ารวจดิน




                   6.5   แหล่งน�้ำ

                       แหล่งน�้าส่วนใหญ่ในพื้นที่ศูนย์ศึกษาเป็นน�้ากร่อยที่อยู่ในพื้นที่อ่าวซึ่งเป็นแหล่งน�้าส�าหรับการเลี้ยง
            กุ้ง ศูนย์ศึกษาฯ จึงได้มีโครงการชลประทานน�้าเค็มส�าหรับบ่อเลี้ยงกุ้งในพื้นที่ศูนย์ฯ ได้ส่งเสริมแก่เกษตรกรผู้เลี้ยง

            กุ้ง เพื่อจัดระบบส่งน�้าเค็มจากทะเลสู่บ่อเลี้ยงกุ้งและระบบการบ�าบัดคุณภาพน�้าก่อนระบายลงสู่อ่าวคุ้งกระเบน
            ส่วนพื้นที่แหล่งน�้าจืดในธรรมชาติของโครงการนั้นมีเพียงคลองแห่งเดียว คือ คลองหิน ซึ่งไหลมาจากทางทิศเหนือ

            ของพื้นที่ศูนย์ศึกษาฯ ลงสู่อ่าวคุ้งกระเบน แหล่งน�้าส�าหรับการท�าเกษตรในศูนย์ศึกษาฯ นั้นส่วนใหญ่อาศัยแหล่ง
            น�้าจากธรรมชาติจากน�้าฝน





            7. ผลกำรศึกษำ


                   7.1   ลักษณะทรัพยำกรดิน

                       จากการส�ารวจดินระดับค่อนข้างละเอียด พบว่าในพื้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ

            สามารถจ�าแนกดินได้ตามระบบจ�าแนกดินตามมาตรฐานของกองส�ารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน ซึ่งใช้ระบบ
            อนุกรมวิธานดินกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกาเป็นเกณฑ์ ออกได้เป็น 8 ชุดดิน 7 ดินคล้ายชุดดิน และจ�าแนกย่อย

            ลงไปอีกถึงประเภทดินโดยใช้เนื้อดินบนและความลาดชันมาจ�าแนก และน�าหน่วยจ�าแนกดินดังกล่าวมาเขียน
            ขอบเขตลงในแผนที่ดิน (ภาพที่ 6) โดยใช้สัญลักษณ์เป็นหมายเลขซึ่งเรียกเป็นหมายเลขหน่วยแผนที่ดิน มีจ�านวน

            ทั้งหมด 12 หน่วยแผนที่ดิน ดังที่แสดงรายละเอียดไว้ใน ตารางที่ 2

                       ส�าหรับความหมายของชุดดิน, ดินคล้ายชุดดิน และประเภทดิน สามารถอธิบายได้ดังนี้

                       ชุดดิน (soil series) หมายถึง หน่วยจ�าแนกดินระดับต�่าสุดของการจ�าแนกดินตามระบบอนุกรมวิธาน

            โดยถือลักษณะทางสัณฐานของดินเป็นหลัก เช่น ความหนาของชั้นดิน การจัดเรียงของชั้นดิน โครงสร้างดิน สีดิน
            เนื้อดิน ปฏิกิริยาดิน การยึดตัว ปริมาณคาร์บอเนตและเกลือชนิดต่างๆ ฮิวมัส เศษหิน องค์ประกอบของแร่ในดิน

            วัตถุต้นก�าเนิดดิน เป็นต้น

                       ดินคล้ายชุดดิน (soil variants) หมายถึง หน่วยจ�าแนกดินระดับเดียวกันกับชุดดินที่เคยก�าหนดไว้
            แล้วซึ่งดินคล้ายชุดดินนี้ มีลักษณะเด่นชัดพอที่จะก�าหนดเป็นชุดดินใหม่ได้ตามระบบการจ�าแนกดิน แต่เนื้อที่ที่

            พบดินดังกล่าวจากการส�ารวจยังมีเนื้อที่น้อยกว่า 20 ตารางกิโลเมตร จึงไม่สามารถก�าหนดเป็นชุดดินใหม่ แต่เพื่อ
            สะดวกในการจดจ�าจึงเอาชื่อชุดดินที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันมาก�าหนด โดยระบุลักษณะที่แตกต่างจากชุดดินนั้น

            เช่น ดินคล้ายชุดดินบ้านทอนที่พบชั้นดานอินทรีย์ลึก มีความหมายว่า ดินดังกล่าวมีลักษณะคล้ายชุดดินบ้านทอน
            แต่จะพบชั้นดานอินทรีย์ ในระดับความลึก 100-150 เซนติเมตร เป็นต้น


                       ประเภทดิน (soil phase) เป็นการแยกย่อยของชุดดินหรือดินคล้ายชุดดินโดยการส�ารวจครั้งนี้ใช้
            เนื้อดินบนและความลาดชันของพื้นที่ที่พบดินนั้นๆ มาแบ่งแยกย่อย เช่น ชุดดินบ้านทอน ที่มีเนื้อดินบนเป็นดิน

            ทราย และพบในบริเวณพื้นที่ที่มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ จะเรียกว่า ชุดดินบ้านทอน ประเภทที่มีเนื้อดินบน
            เป็นดินทราย และมีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ เป็นต้น
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26