Page 96 - การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง
P. 96

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           80







                         มม.                                                           ปริมาณน ้าฝน (มม.)
                     350                                                               การระเหยและคายน ้า

                     300                                                               0.5 การระเหยและคายน ้า

                     250

                     200
                     150

                     100

                      50
                                                        ช่วงน้้ามากพอ
                      0                                                                เดือน
                        ม.ค.  ก.พ.  มี.ค.  เม.ย.  พ.ค.  มิ.ย.  ก.ค.  ส.ค.  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.                                                              80

                            ช่วงขาด                    ช่วงเพาะปลูกพืช         ช่วงขาด
                            น้้า                                               น้้า
                                       สมดุลของน้้าเพื่อการเกษตรในลุ่มน้้าสาขา (ปี 2547 - 2556)


                  ภาพที่ 13  กราฟสมดุลของน้้าเพื่อการเกษตรในพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาคลองพระสทึง (ปี 2547–2556)


                          จากการวิเคราะห์และเปรียบเทียบข๎อมูลสมดุลของน้้าเพื่อการเกษตรในพื้นที่ลุํมน้้าสาขา

                  คลองพระสทึง 30 ปีหลังสุด (ปี 2527-2556) 15 ปีหลังสุด(ปี 2542-2556) และ10 ปีหลังสุด (ปี 2547-
                  2556) พบวํามีความสอดคล๎องกันโดยชํวงเวลาส้าคัญทั้ง 3 ชํวงได๎แกํ ชํวงระยะเวลาที่มีความชื้น

                  พอเหมาะแกํการปลูกพืช ชํวงที่มีฝนตกชุกความชื้นสูงอาจมากเกินความต๎องการของพืช และชํวงที่

                  ขาดน้้าอาจไมํพอเพียงตํอความต๎องการของพืช ไมํแตกตํางกัน(ตารางที่ 8- 13 และภาพที่ 11-13)

                          เมื่อเปรียบเทียบข๎อมูลภูมิอากาศของสถานีตรวจวัดอากาศในพื้นที่ลุํมน้้าสาขาคลองพระ
                  สทึง ในชํวงเวลา 30 ปีหลังสุด 15 ปีหลังสุด และ10 ปีหลังสุด พบวําปริมาณน้้าฝนในชํวง 15 ปีหลังสุด

                  และ 10 ปีหลังสุด มีแนวโน๎มมากขึ้น โดยเพิ่มขึ้นจากปริมาณน้้าฝน 1,458.7 มม. (30 ปีหลังสุด) เพิ่ม

                  เป็น 1,493.2 มม. (15 ปีหลังสุด) และ1,491.5 มม. (10 ปีหลังสุด ) ตามล้าดับ แตํในขณะเดียวกัน
                  ศักยภาพการคายระเหยน้้าก็มีแนวโน๎มมากขึ้นด๎วย สํวนปริมาณฝนใช๎การได๎มีแนวโน๎มลดลง ด๎าน

                  อุณหภูมิ อุณหภูมิเฉลี่ย และความชื้นสัมพัทธ์นั้น ข๎อมูลทั้งสามชํวงเวลา มีแนวโน๎มแตกตํางกันไมํมาก

                  นัก
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101