Page 100 - การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพสำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง
P. 100

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           84





                            3)  ปริมาณน้้าทํา

                              (1) การประเมินปริมาณน้้าทําในลุํมน้้าสาขา

                                ปริมาณน้้าทํา เป็นปริมาณน้้าที่ไหลในล้าน้้าหรือล้าธาร ตามธรรมชาติจะขึ้นอยูํ
                  กับขนาดของพื้นที่ลุํมน้้า ลุํมน้้าที่มีขนาดใหญํจะมีน้้าไหลจ้านวนมากและมีขนาดของล้าน้้าใหญํ ซึ่ง

                  ล้าน้้าเหลํานั้นจะพัฒนาให๎มีความจุพอเพียงกับน้้าที่ลุํมน้้าให๎ โดยทั่วไปไมํวําลุํมน้้าจะมีขนาดเทําใด

                  จะมีล้าน้้าหลักอยูํเพียงหนึ่งเทํานั้น สํวนล้าน้้าที่เป็นสาขาจะมีมากน๎อยเพียงไรขึ้นกับความคงทนของดิน

                  และหินตลอดจนลักษณะพืชคลุมดินของลุํมน้้าเป็นส้าคัญ
                                ปริมาณน้้าทําในพื้นที่ลุํมน้้าสาขาคลองพระสทึงนั้น เป็นปริมาณน้้าทําเฉลี่ยรายเดือน

                  ของสถานี KGT.42 คลองพระสทึง บ๎านทําระพา อ้าเภอเมืองสระแก๎ว จังหวัดสระแก๎ว ซึ่งตั้งอยูํในพื้นที่

                  ลุํมน้้าสาขาดังกลําว จากข๎อมูลสถิติในปี 2548-2556 (กรมชลประทาน, 2557ข) พบวํา ปริมาณน้้าทําเฉลี่ย                                             84

                  สูงสุดในเดือนกันยายน มีคํา 328.09 ล๎านลูกบาศก์เมตร และเฉลี่ยต่้าสุดในเดือนกุมภาพันธ์ มีคํา 0.63
                  ล๎านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้้าทําในชํวงฤดูฝน (พฤษภาคม-ตุลาคม) มีปริมาณน้้าทํา 1,043.99 ล๎าน

                  ลูกบาศก์เมตร และในชํวงฤดูแล๎ง (พฤศจิกายน-เมษายน) มีปริมาณน้้าทํา 67.25 ล๎านลูกบาศก์เมตร

                  รายละเอียดดังตารางที่ 14
                  ตารางที่ 14 ปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยรายเดือน ระหว่างปี 2548-2556 ในพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาคลองพระสทึง

                            สถานี KGT.42 คลองพระสทึง บ้านท่าระพา อ้าเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว

                             เดือน                       ปริมาณน้้าท่าเฉลี่ยรายเดือน (ล้านลูกบาศก์เมตร)
                  เมษายน                                                 21.78
                  พฤษภาคม                                                79.48
                  มิถุนายน                                               50.63
                  กรกฎาคม                                               117.07

                  สิงหาคม                                               170.25
                  กันยายน                                               328.09
                  ตุลาคม                                                298.27
                  พฤศจิกายน                                              40.12
                  ธันวาคม                                                2.54

                  มกราคม                                                 1.06
                  กุมภาพันธ์                                             0.63
                  มีนาคม                                                 1.12
                  รวม                                                  1,111.06

                  ที่มา: ศูนย์อุทกวิทยาและบริหารน้้า ภาคตะวันออก กรมชลประทาน (2557)
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105