Page 9 - การไถกลบต่อซังร่วมกับการใช้น้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดิน ตำบลบ้านกลึง อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
P. 9
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
1
บทที่ 1
บทน า
1.1 หลักการและเหตุผล
ด าเนินการจุดเรียนรู้ด้านต่างๆ ในการพัฒนาปรับปรุงบ ารุงดินในศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดิน
ต าบลบ้านกลึง ณ บ้านเลขที่ 28 หมู่ที่ 8 บ้านศรีโพธิ์ทอง ต าบลบ้านกลึง อ าเภอบางไทร จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา ได้ด าเนินการระหว่างเดือนเมษายน ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ.2559 สภาพปัญหา
ของพื้นที่ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า เนื่องจากมีปริมาณอินทรียวัตถุต่ า มีแมลงศัตรูพืชรบกวน ผลผลิต
ตกต่ า แนวทางแก้ไขปัญหาทางหนึ่งคือการไถกลบตอซังเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน ปลูกหญ้า
แฝกเพื่อรักษาความชุ่มชื้นในดิน และควรปรับโครงสร้างดินและเพิ่มความสมบูรณ์ของดินใช้สารเร่ง
ซุปเปอร์พด.2 เพื่อผลิตน้ าหมักชีวภาพ ใช้ปุ๋ยพืชสดเพื่อเพิ่มธาตุไนโตรเจนและเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน
ใช้สารเร่งพด.7 เพื่อผลิตสารป้องกันก าจัดแมลงศัตรูพืช และให้ค าแนะน าในการปรับปรุงคุณภาพดิน
อย่างต่อเนื่อง พื้นที่ส่วนใหญ่ใช้ท านามีอยู่ประมาณร้อยละ 50 ของพื้นที่ ซึ่งควรมีการปรับปรุงบ ารุง
ดินโดยอินทรียวัตถุและใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิต เป็นการศึกษาผลของการทดสอบ
และสาธิต การไถกลบตอซังร่วมกับการใช้น้ าหมักชีวภาพต่อการเปลี่ยนแปลงความอุดมสมบูรณ์ของ
ดิน และผลผลิตของข้าว โดยมีกิจกรรมจุดเรียนรู้การไถกลบตอซัง จุดเรียนรู้การผลิตน้ าหมักชีวภาพ
จุดเรียนรู้การผลิตน้ าหมักสมุนไพร จุดเรียนรู้การปรับปรุงบ ารุงดินด้วยพืชปุ๋ยสด จุดเรียนรู้การอนุรักษ์
ดินและน้ าด้วยหญ้าแฝก
กรมพัฒนาที่ดินเริ่มด าเนินงานโครงการศูนย์เรียนรู้การพัฒนาที่ดินตามแนวเศรษฐกิจ
พอเพียงในปี พ.ศ. 2550 มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์สาธิตการพัฒนาที่ดินในพื้นที่ โดยมุ่งแก้ไขปัญหา
ทรัพยากรดินในพื้นที่ เป็นจุดศูนย์กลางขยายงานพัฒนาที่ดินสู่พื้นที่โดยรอบ และเพื่อเป็นจุดเรียนรู้
เกี่ยวกับงานพัฒนาที่ดินตลอดจนข้อมูลที่เกี่ยวข้องของเกษตรกรและผู้ที่เกี่ยวข้อง ศูนย์เรียนรู้การ
พัฒนาที่ดินตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงคือ ศูนย์สาธิตงานพัฒนาที่ดินที่ตั้งในพื้นที่ของต าบลที่ได้
คัดเลือก โดยคัดเลือกจากพื้นที่หมอดินอาสาประจ าต าบลที่มีศักยภาพในการถ่ายทอดเทคโนโลยี และ
มีศักยภาพที่จะเป็นแปลงสาธิตด้านการพัฒนาที่ดิน สามารถน าเอารูปแบบการพัฒนาที่ดินด้านต่าง ๆ
มาไว้ในจุดเดียวเพื่อเป็นจุดเรียนรู้ให้เกษตรกรหรือผู้ที่เกี่ยวข้องได้น าไปปรับใช้ในพื้นที่ของตนเองตาม
สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นจริงได้อย่างเหมาะสมและถูกต้องตามหลักวิชาการ
ปัจจุบันพื้นที่การเกษตรกรรมของประเทศไทย มีระดับปริมาณอินทรียวัตถุในดินค่อนข้างต่ า
มาก ประมาณร้อยละ 1 ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ถึง 191 ล้านไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 60 ของพื้นที่ทั้งหมด
ธาตุอาหารในดินจะสูญเสียไปอยู่ในส่วนของพืชเป็นปริมาณสูง จากการประเมินของกรมพัฒนาที่ดิน
พบว่ามีวัสดุฟางฟางข้าวทั้งประเทศ 26.81 ล้านตัน เศษต้นข้าวโพด 6.83 ล้านตัน เศษใบอ้อย 9.75
ล้านตัน โดยที่เศษวัสดุเหลือใช้เหล่านี้ยังขาดการจัดการที่เหมาะสม
ส าหรับวัสดุเศษพืชต่างๆ ได้มีการน ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ทางการเกษตรกันแล้ว เช่น
น ามาใช้ท าปุ๋ยหมัก การใช้เป็นวัสดุคลุมดิน การท าวัสดุเพาะเห็ดเหลือ การใช้เป็นอาหารสัตว์ อย่างไร
ก็ตาม มีเกษตรกรจ านวนไม่น้อยที่เผาตอซังทิ้งหลังการเก็บเกี่ยว โดยมีวัตุถุประสงค์ที่จะก าจัดโรคและ
แมลงศัตรูพืชรวมทั้งการช่วยให้การพรวนท าได้ง่าย แต่การกระท าดังกล่าวก่อให้เกิดการสูญเสีย