Page 112 - การประเมินความเหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจในการผลิตพืชเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาของลุ่มน้ำหลัก : โตนเลสาป ปีการผลิต 2555/56
P. 112

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           2-81






                  การเลี้ยงเพิ่มขึ้นจากปี 2553 ร้อยละ 19.21 โดยอําเภอที่มีการเลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ อําเภอขลุง จังหวัด

                  จันทบุรี จํานวน 22,364 ตัว หรือร้อยละ 79.90 ของจํานวนไก่ไข่ที่ถูกเลี้ยงในลุ่มนํ้าสาขาโตนเลสาป

                  ตอนล่าง (1703) ในปี 2555 มีการเลี้ยงไก่ไข่ จํานวน 29,948 ตัว ซึ่งมีปริมาณการเลี้ยงเพิ่มขึ้นจากปี 2554
                  ร้อยละ 7.00 อําเภอที่มีการเลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ อําเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี จํานวน 22,367 ตัว หรือร้อยละ

                  74.69 ของจํานวนไก่ไข่ที่ถูกเลี้ยงในลุ่มนํ้าสาขาโตนเลสาปตอนล่าง (1703)

                                         เป็ดพื้นเมือง ในปี 2553 มีการเลี้ยงเป็ดพื้นเมือง จํานวน 21,564 ตัว อําเภอ

                  ที่มีการเลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ อําเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว จํานวน 12,337 ตัว หรือร้อยละ
                  57.21 ของจํานวนเป็ดพื้นเมืองที่ถูกเลี้ยงในลุ่มนํ้าสาขาโตนเลสาปตอนล่าง (1703) ในปี 2554 มีการเลี้ยง

                  เป็ดพื้นเมือง จํานวน 34,271ตัว ซึ่งมีปริมาณการเลี้ยงเพิ่มขึ้นจากปี 2553 ร้อยละ 58.93 อําเภอที่มีการเลี้ยง

                  มากที่สุด ได้แก่ อําเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว จํานวน 32,106 ตัว หรือร้อยละ 93.68 ของจํานวน

                  เป็ดพื้นเมืองที่ถูกเลี้ยงในลุ่มนํ้าสาขาโตนเลสาปตอนล่าง (1703) ในปี 2555 มีการเลี้ยงเป็ดพื้นเมือง
                  จํานวน 20,599 ตัว ซึ่งมีปริมาณการเลี้ยงลดลงจากปี 2554 ร้อยละ 39.89 อําเภอที่มีการเลี้ยงมากที่สุด

                  ได้แก่ อําเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว จํานวน 18,314 ตัว หรือร้อยละ 88.91ของจํานวนเป็ดพื้นเมือง

                  ที่ถูกเลี้ยงในลุ่มนํ้าสาขาโตนเลสาปตอนล่าง (1703)
                                         เป็ ดเทศ ยังไม่ค่อยนิยมเลี้ยงกันแพร่หลาย ในปี 2553 มีการเลี้ยงเป็ดเทศ

                  จํานวน 2,449 ตัว อําเภอที่มีการเลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ อําเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี จํานวน 2,169 ตัว

                  หรือร้อยละ 88.57 ของจํานวนเป็ดเทศที่ถูกเลี้ยงในลุ่มนํ้าสาขาโตนเลสาปตอนล่าง (1703) ในปี 2554
                  มีการเลี้ยงเป็ดเทศจํานวน 1,879 ตัว ซึ่งปริมาณการเลี้ยงลดลงจากปี 2553 ร้อยละ 23.27 อําเภอที่มีการเลี้ยง

                  มากที่สุด ได้แก่ อําเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี จํานวน 994 ตัว หรือร้อยละ 52.90 ของจํานวนเป็ดเทศที่

                  ถูกเลี้ยงในลุ่มนํ้าสาขาโตนเลสาปตอนล่าง (1703) ในปี 2555 มีการเลี้ยงเป็ดเทศ จํานวน 1880 ตัว ซึ่งมี

                  จํานวนการเลี้ยงเพิ่มขึ้นจากปี 2554 ร้อยละ 0.05 อําเภอที่มีการเลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ อําเภอขลุง จังหวัด
                  จันทบุรี จํานวน 994 ตัว หรือร้อยละ 52.87 ของจํานวนเป็ดเทศที่ถูกเลี้ยงในลุ่มนํ้าสาขาโตนเลสาป

                  ตอนล่าง (1703)

                                         เป็ ดเนื้อ ยังไม่ค่อยนิยมเลี้ยงกันแพร่หลาย ในปี  2553 มีการเลี้ยงเป็ดเนื้อ

                  จํานวน 994 ตัว อําเภอที่มีการเลี้ยงมากที่สุด ได้แก่ อําเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี จํานวน 853 ตัว หรือร้อยละ
                  85.81 ของจํานวนเป็ดเนื้อที่ถูกเลี้ยงในลุ่มนํ้าสาขาโตนเลสาปตอนล่าง (1703) ในปี 2554 มีการเลี้ยงเป็ดเนื้อ

                  จํานวน 1,756 ตัว ซึ่งปริมาณการเลี้ยงเพิ่มขึ้นจากปี 2553 ร้อยละ76.66 อําเภอที่มีการเลี้ยงมากที่สุด

                  ได้แก่ อําเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี จํานวน 1,484 ตัว หรือร้อยละ 84.51 ของจํานวนเป็ดเนื้อที่ถูกเลี้ยงใน
                  ลุ่มนํ้าสาขาโตนเลสาปตอนล่าง (1703) ในปี 2555 มีการเลี้ยงเป็ดเนื้อจํานวน 1,844 ตัว ซึ่งมีปริมาณเพิ่มขึ้น
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117