Page 12 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงปรับปรุงบำรุงดินเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวนาปีของศูนย์เรียนรู้ด้านการพัฒนาที่ดินตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ตำบลคู้ยายหมี อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                            3







                                        5.1)  เครื่องมือเก็บตัวอย่างดินและวัดการเจริญเติบโตของข้าวขาวดอกมะลิ 105
                       ได้แก่ มีด ไม้บรรทัด พลั่วเก็บตัวอย่างดิน ปากกาเคมี และถุงพลาสติก
                                        5.2) เครื่องมือและอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ใช้ในการวิเคราะห์ดิน
                              1.4.2 วิธีด าเนินการ

                                   1) ส ารวจ รวบรวมข้อมูล และคัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสม เพื่อจัดท าแปลงสาธิตทดสอบ
                                   2) วางแผนการทดสอบแบบ Observation โดยมีต ารับการทดลอง 3 ต ารับ ดังนี้
                                       2.1) ต ารับที่ 1 วิธีของเกษตรกร ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 16-20-0 อัตรา 40 กิโลกรัมต่อไร่
                                       2.2)  ต ารับที่ 2 ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงอัตรา 300 กิโลกรัมต่อไร่+ปุ๋ยเคมี  อัตรา 20

                       กิโลกรัมต่อไร่
                                        2.3)  ต ารับที่ 3 ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงอัตรา 300 กิโลกรัมต่อไร่+ปุ๋ยเคมี อัตรา 10
                       กิโลกรัมต่อไร่+น้ าหมักชีวภาพ (ซุปเปอร์ พด.2) อัตราส่วน 1:500 ใช้ฉีดพ่นในอัตรา 30 ลิตรต่อไร่
                                   3) การเตรียมปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง

                                        3.1)  วัสดุใช้ท าเป็นปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง ได้แก่ กากถั่วเหลือง ร าละเอียด มูลสัตว์
                       หินฟอสเฟต สารเร่งซุปเปอร์ พด.1 สารเร่งซุปเปอร์ พด.2 (ขยายเชื้อในกากน้ าตาล จ านวน 30 ลิตร) และ
                       สารเร่งซุปเปอร์ พด.9

                                        3.2) การผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง (กรมพัฒนาที่ดิน, 2557)
                                            3.2.1) ผสมวัตถุดิบให้เข้ากัน ตามส่วนผสมของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง
                                            3.2.2) น าสารเร่งซุปเปอร์ พด.1 จ านวน 1 ซอง ใส่ลงในสารเร่งซุปเปอร์ พด.2
                       ที่ขยายเชื้อแล้ว จ านวน 30 ลิตร คน 15 นาที เทลงในกากถั่วเหลือง ร าละเอียด มูลสัตว์ หินฟอสเฟตโดย
                       คลุกเคล้าให้ทั่ววัตถุดิบอย่างสม่ าเสมอ

                                            3.2.3)  ตั้งกองปุ๋ยหมักเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า ให้มีความสูง 30 เซนติเมตร และใช้
                       วัสดุคลุมเพื่อรักษาความชื้น
                                                3.2.4) กลับกองปุ๋ยหมักทุก 5 วัน และควบคุมความชื้นในระหว่างการหมัก 30

                       เปอร์เซ็นต์
                                            3.2.5) ระหว่างการหมักจะสังเกตเห็นเชื้อจุลินทรีย์เจริญในกองปุ๋ยและอุณหภูมิ
                       จะสูงขึ้น 45-55 องศาเซลเซียส หลังจากการหมัก ประมาณ 3 วัน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2557)
                                            3.2.6) กองปุ๋ยไว้จนกระทั่งอุณหภูมิลดลงเท่ากับภายนอกกอง ใช้เวลา 12 วัน

                       (กรมพัฒนาที่ดิน, 2557)
                                            3.2.7) ใส่สารเร่งซุปเปอร์ พด.3 และสารเร่งซุปเปอร์ พด.9 อย่างละ 1 ซอง
                       คลุกเคล้าให้ทั่วกองและหมักไว้ เป็นเวลา 3 วัน จึงน าไปใช้
                                   4) เก็บตัวอย่างดิน ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร เพื่อวิเคราะห์หาค่าสมบัติทางเคมี

                       ของดิน ได้แก่ ปริมาณอินทรียวัตถุ (เปอร์เซ็นต์) ปริมาณธาตุฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (มิลลิกรัมต่อ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17