Page 188 - ผลสัมฤทธิ์ของการบูรณาการงานในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำเข็ก อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 188

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                      142



                            4.  ด าเนินการพัฒนาแหลํงน้ าขนาดเล็กในพื้นที่เขตนี้ รวมทั้งการปรับปรุงประสิทธิภาพแหลํง
                  น้ าตามธรรมชาติ เชํน เหมือง ฝาย ล าคลองสาธารณะ ให๎มีการกักเก็บน้ าได๎ดีขึ้น
                               - เขตปลูกไม๎ผล (หนํวยแผนที่ 224)

                               มีเนื้อที่ 485  ไรํ หรือร๎อยละ 6.50 ของพื้นที่ด าเนินการ สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนชัน ดิน
                  เป็นดินรํวนปนเหนียว เป็นดินลึกถึงลึกมาก มีการระบายน้ าดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติระดับปาน
                  กลาง พื้นที่เขตนี้ก าหนดให๎เป็นเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกไม๎ผลที่อาศัยน้ าฝนเป็นหลัก เว๎นแตํบางบริเวณที่มี
                  แหลํงน้ าขนาดเล็กหรือใกล๎แหลํงน้ าธรรมชาติ
                             ข๎อเสนอแนะในการใช๎พื้นที่

                             1. ควรเรํงรัดพัฒนาระบบชลประทานเพื่อปรับรูปแบบการใช๎ประโยชน์ที่ดินให๎สมบูรณ์
                             2. ด าเนินการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าในพื้นที่เขตนี้ เพราะลักษณะการใช๎ที่ดินเพื่อ
                  เกษตรกรรม โดยมีการไถพรวนเตรียมพื้นที่ทุกปี มีแนวโน๎มของการเกิดการชะล๎างผิวหน๎าดินได๎สูงในชํวงต๎นฤดู

                  ฝนซึ่งไมํมีพืชปกคลุมผิวหน๎าดิน ระบบอนุรักษ์ดินและน้ าสามารถเลือกปฏิบัติได๎ทั้งการใช๎ระบบพืช เชํน การ
                  ปลูกพืชขวางแนวความลาดชัน การปลูกพืชสลับแถวและการปลูกหญ๎าแฝกขวางแนวความลาดชัน แตํบริเวณ
                  ที่มีความลาดชันสูงอาจต๎องใช๎มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าเชิงกล โดยจัดท าคันดินขวางแนวความลาดชัน การ
                  ท าทางระบายน้ าออกจากพื้นที่และสามารถท ารํวมกับการอนุรักษ์ดินโดยใช๎ระบบพืชด๎วย

                             3. ปรับปรุงคุณภาพของดินให๎มีความอุดมสมบูรณ์และลักษณะทางกายภาพของดินที่เหมาะสม
                  ส าหรับการปลูกพืช โดยการใช๎ปุ๋ยอินทรีย์ตํางๆ เชํน ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยคอก ซึ่งจะเป็นการปรับปรุงโครงสร๎าง
                  ของดินให๎ดีขึ้นท าให๎ดินรํวนซุย เพิ่มการอุ๎มน้ าของดินให๎ดีขึ้น
                               4. ด าเนินการพัฒนาแหลํงน้ าขนาดเล็กในพื้นที่เขตนี้ รวมทั้งการปรับปรุงประสิทธิภาพแหลํง

                  น้ าตามธรรมชาติ เชํน เหมือง ฝาย ล าคลองสาธารณะ ให๎มีการกักเก็บน้ าได๎ดีขึ้น
                            2)  เขตเรํงรัดพัฒนาการเกษตร
                               มีเนื้อที่ 382 ไรํ หรือร๎อยละ 5.12 ของพื้นที่ด าเนินการ เขตนี้ถูกก าหนดให๎เป็นเขตการเกษตร
                  ที่ต๎องมีการด าเนินการแก๎ไขปัญหาที่เป็นข๎อจ ากัดของการใช๎ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมตํางๆ เชํน เนื้อดินรํวนปน

                  ทรายปน ซึ่งมีผลตํอความสามารถในการอุ๎มน้ าที่เป็นประโยชน์ตํอพืชต่ า รวมทั้งปริมาณธาตุอาหารพืชในดินมี
                  ปริมาณต่ า ดินเป็นดินรํวนปนทราย การระบายน้ าดี สภาพพื้นที่มีความลาดชันสูงเสี่ยงตํอการการชะล๎าง
                  พังทลายของหน๎าดิน จากข๎อจ ากัดการใช๎ที่ดินดังกลําวข๎างต๎น  จึงจ าเป็นอยํางยิ่งในการพัฒนาปรับปรุงและมี

                  มาตรการเฉพาะเพื่อเพิ่มผลผลิตการเกษตรกรรมในพื้นที่ให๎สูงขึ้นรวมถึงการปูองกันระบบนิเวศน์มิให๎เสื่อมโทรม จาก
                  การใช๎พื้นที่ในเขตนี้ ดังนั้นหนํวยงานของรัฐที่เกี่ยวข๎อง จึงจ าเป็นต๎องให๎ความชํวยเหลือเกษตรกรในพื้นที่เขตนี้
                  เป็นพิเศษ โดยเขตเรํงรัดพัฒนาการเกษตรนี้สามารถแบํงเขตการใช๎ที่ดินออกเป็น 4 เขต ตามศักยภาพและ
                  ความเหมาะสมของที่ดินได๎ดังนี้
                               - เขตปลูกพืชไรํ พื้นที่ลาดชัน (หนํวยแผนที่ 232)

                               มีเนื้อที่  308 ไรํ หรือร๎อยละ 4.13  ของพื้นที่ด าเนินการ สภาพพื้นที่ในเขตนี้สภาพพื้นที่มี
                  ความลาดชันสูงเสี่ยงตํอการการชะล๎างพังทลายของหน๎าดิน ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า พื้นที่
                  มีความลาดชันหน๎าดินงํายมากตํอการถูกชะล๎างพังทลาย พื้นที่ในเขตนี้ดินมีความเหมาะสมส าหรับการ

                  ปลูกพืชไรํและเหมาะสมส าหรับปลูกไม๎ยืนต๎นบ๎างเล็กน๎อย จ าเป็นอยํางยิ่งในการพัฒนาปรับปรุงและมีมาตรการ
                  เฉพาะ เพื่อเพิ่มผลผลิตการเกษตรกรรมในพื้นที่ให๎สูงขึ้นรวมถึงการปูองกันระบบนิเวศน์มิให๎เสื่อมโทรม
   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193