Page 187 - ผลสัมฤทธิ์ของการบูรณาการงานในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำเข็ก อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
P. 187

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                      141



                               - เขตปลูกพืชไรํ (หนํวยแผนที่ 222)
                               มีเนื้อที่ 2,272 ไรํ หรือร๎อยละ 30.48 ของพื้นที่ด าเนินการ สภาพพื้นที่ในเขตนี้เป็นลูกคลื่นลอน
                  ลาดจนถึงเนินเขา ลักษณะดินที่พบสํวนใหญํเป็นดินลึกถึงลึกมาก ดินรํวนปนดินเหนียว มีการระบายน้ าดี

                  ปานกลาง ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติระดับปานกลาง พื้นที่เขตนี้ก าหนดให๎เป็นเขตเกษตรกรรมเพื่อ
                  การปลูกพืชไรํ ที่อาศัยน้ าฝนเป็นหลัก เว๎นแตํบางบริเวณที่มีแหลํงน้ าขนาดเล็กหรือใกล๎แหลํงน้ าธรรมชาติ
                               ข๎อเสนอแนะในการใช๎พื้นที่
                               1. ควรเรํงรัดพัฒนาระบบชลประทานเพื่อปรับรูปแบบการใช๎ประโยชน์ที่ดินจากการปลูกพืช
                  ล๎มลุก มาเป็นการปลูกไม๎ผลหรือพืชผัก

                               2. ด าเนินการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าในพื้นที่เขตนี้ โดยเฉพาะบริเวณที่มีการใช๎ที่ดิน
                  เพื่อการปลูกพืชไรํเพราะลักษณะการใช๎ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม โดยมีการไถพรวนเตรียมพื้นที่ทุกปี  มีแนวโน๎ม
                  ของการเกิดการชะล๎างผิวหน๎าดินได๎สูงในชํวงต๎นฤดูฝนซึ่งไมํมีพืชปกคลุมผิวหน๎าดิน ระบบอนุรักษ์ดินและน้ า

                  สามารถเลือกปฏิบัติได๎ทั้งการใช๎ระบบพืช เชํน การปลูกพืชขวางแนวความลาดชัน การปลูกพืชสลับแถวและ
                  การปลูกหญ๎าแฝกขวางแนวความลาดชัน แตํบริเวณที่มีความลาดชันสูงอาจต๎องใช๎มาตรการอนุรักษ์ดินและ
                  น้ าเชิงกลโดยจัดท าคันดินขวางแนวความลาดชัน การท าทางระบายน้ าออกจากพื้นที่และสามารถท ารํวมกับ
                  การอนุรักษ์ดินโดยใช๎ระบบพืชด๎วย

                               3. ปรับปรุงคุณภาพของดินให๎มีความอุดมสมบูรณ์และลักษณะทางกายภาพของดินที่เหมาะสม
                  ส าหรับการปลูกพืช โดยการใช๎ปุ๋ยอินทรีย์ตํางๆ เชํน ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยคอก ซึ่งจะเป็นการปรับปรุงโครงสร๎าง
                  ของดินให๎ดีขึ้นท าให๎ดินรํวนซุย เพิ่มการอุ๎มน้ าของดินให๎ดีขึ้น
                               4. ด าเนินการพัฒนาแหลํงน้ าขนาดเล็กในพื้นที่เขตนี้ รวมทั้งการปรับปรุงประสิทธิภาพแหลํง

                  น้ าตามธรรมชาติ เชํน เหมือง ฝาย ล าคลองสาธารณะ ให๎มีการกักเก็บน้ าได๎ดีขึ้น
                            - เขตปลูกไม๎ยืนต๎น (หนํวยแผนที่ 223)
                               มีเนื้อที่ 5  ไรํ หรือร๎อยละ 0.07 ของพื้นที่ด าเนินการ สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด เนื้อดิน
                  เป็นดินรํวนปนเหนียว เป็นดินลึกมาก มีการระบายน้ าดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติระดับปานกลาง

                  พื้นที่เขตนี้ก าหนดให๎เป็นเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกไม๎ยืนต๎นที่อาศัยน้ าฝนเป็นหลัก
                            ข๎อเสนอแนะในการใช๎พื้นที่
                            1.  ควรเรํงรัดพัฒนาระบบชลประทานเพื่อปรับรูปแบบการใช๎ประโยชน์ที่ดินจากการปลูกพืช

                  ล๎มลุก มาเป็นการปลูกไม๎ผลหรือพืชผัก
                            2.  ด าเนินการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าในพื้นที่เขตนี้ โดยเฉพาะบริเวณที่มีการใช๎ที่ดิน
                  เพื่อการปลูกพืชไรํ เพราะลักษณะการใช๎ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมโดยมีการไถพรวนเตรียมพื้นที่ทุกปี  มีแนวโน๎ม
                  ของการเกิดการชะล๎างผิวหน๎าดินได๎สูงในชํวงต๎นฤดูฝนซึ่งไมํมีพืชปกคลุมผิวหน๎าดิน ระบบอนุรักษ์ดินและน้ า
                  สามารถเลือกปฏิบัติได๎ทั้งการใช๎ระบบพืช เชํน การปลูกพืชขวางแนวความลาดชัน การปลูกพืชสลับแถวและการ

                  ปลูกหญ๎าแฝกขวางแนวความลาดชัน แตํบริเวณที่มีความลาดชันสูงอาจต๎องใช๎มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า
                  เชิงกลโดยจัดท าคันดินขวางแนวความลาดชัน การท าทางระบายน้ าออกจากพื้นที่ และสามารถท ารํวมกับการ
                  อนุรักษ์ดินโดยใช๎ระบบพืชด๎วย

                            3.  ปรับปรุงคุณภาพของดินให๎มีความอุดมสมบูรณ์และลักษณะทางกายภาพของดินที่เหมาะสม
                  ส าหรับการปลูกพืช โดยการใช๎ปุ๋ยอินทรีย์ตํางๆ เชํน ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยคอก ซึ่งจะเป็นการปรับปรุงโครงสร๎าง
                  ของดินให๎ดีขึ้นท าให๎ดินรํวนซุย เพิ่มการอุ๎มน้ าของดินให๎ดีขึ้น
   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192