Page 37 - การกำหนดเขตการใช้ที่ดินสำหรับปลูกข้าวหอมมะลิของประเทศไทย
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            2-25





                      สุพรรณบุรีพระนครศรีอยุธยา ชัยนาท ลพบุรี นครนายก สระบุรี กาญจนบุรี นครปฐม อ่างทอง และ
                      ปทุมธานีเป็นต้น (ตารางที่2-5 และ 2-8)

                                 ภาคตะวันออกมีพื้นที่ปลูก 2.17 ล้านไร่คิดเป็นร้อยละ 3.37 ของพื้นที่ปลูกทั้งประเทศ
                      พื้นที่ปลูกเพิ่มขึ้น 480 ไร่หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.02 จากปี 2554 ผลผลิตรวม 917,352 ตันข้าวเปลือก

                      (คิดเป็นร้อยละ 3.45 ของผลผลิตรวมทั้งประเทศ) ผลผลิตรวมลดลง 25,129 ตันข้าวเปลือก หรือลดลง
                      ร้อยละ 2.67 จากปี 2554 ผลผลิตเฉลี่ยไร่ละ 423 กิโลกรัม ลดลงไร่ละ 12 กิโลกรัม จากไร่ละ 435 กิโลกรัม

                      ในปี 2554 จังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตที่สําคัญ ได้แก่จังหวัดสระแก้ว ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ชลบุรี

                      จันทบุรี ตราด และระยอง เป็นต้น (ตารางที่ 2-5และ 2-9)
                                 ภาคใต้มีพื้นที่ปลูก 992,708 ไร่คิดเป็นร้อยละ 1.54 ของพื้นที่ปลูกทั้งประเทศ พื้นที่ปลูก

                      ลดลง 46,693 ไร่หรือลดลงร้อยละ 4.49 จากปี 2554 ผลผลิตรวม 415,525 ตันข้าวเปลือก (คิดเป็นร้อยละ
                      1.56ของผลผลิตรวมทั้งประเทศ) ผลผลิตรวมลดลง 1,955 ตันข้าวเปลือก หรือลดลงร้อยละ 0.47 จากปี

                      2554ผลผลิตเฉลี่ยไร่ละ 419 กิโลกรัม ลดลงไร่ละ 17 กิโลกรัม จากไร่ละ 402 กิโลกรัม ในปี2554
                      จังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตที่สําคัญ ได้แก่จังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลา พัทลุง ปัตตานี นราธิวาส ยะลา

                      สตูล ตรัง สุราษฎร์ธานี และชุมพร เป็นต้น (ตารางที่2-5และ 2-10)
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42