Page 32 - การใช้น้ำหมักชีวภาพควบคุมแมลงศุตรูพืช พด.7 ในการควบคุมหนอนชอนใต้ผิวเปลือกลองกองเพื่อผลิตลองกอง
P. 32
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
24
กลุ่มชุดดินที่ 32
ลักษณะเด่น : กลุ่มดินร่วนหรือดินทรายแป้งละเอียดลึกมากที่เกิดจากตะกอนริมแม่น้้า
ปฏิกิริยาดิน : เป็นกรดจัด
การระบายน้้า : ดีถึงดีปานกลาง
ความอุดมสมบูรณ์ : ปานกลาง
ปัญหา : ขาดแคลนน้้า บางพื้นที่อาจมีน้้าไหลบ่าท่วมขังฉับพลันในระยะที่มีฝนตกหนัก
ตารางภาคผนวกที่ 1 คุณสมบัติทางเคมีที่ส้าคัญกลุ่มชุดดินที่ 32
บริเวณที่พบ อินทรียวัตถุ* ฟอสฟอรัส (P O ) โพแทสเซียม (K O) ความเป็นกรด
2 5
2
-1
-1
(เปอร์เซ็นต์) (mg kg ) (mg kg ) เป็นด่างของดิน
(pH)
ดินบน 5.6 2.3 106.7 5.5-6.0
ดินล่าง 4.0 2.3 84.3 4.5-5.05
หมายเหตุ : * เปอร์เซ็นต์ไนโตรเจน มีค่าเท่ากับ เปอร์เซ็นต์อินทรียวัตถุ x 0.05
พืชพรรณและการใช้ประโยชน์ : ปลูกยางพารา กาแฟ และไม้ผลชนิดต่างๆ
ข้อจ ากัดในการใช้ประโยชน์ : ไม่ค่อยมีปัญหาในเรื่องสมบัติของดิน แต่อาจมีปัญหาเรื่องน้้า
ท่วม สร้างความเสียหายให้แก่พืชที่ปลูก หากน้้าในล้าน้้ามีปริมาณมากจนไหลเอ่อท่วมตลิ่ง และแช่ขัง
อยู่เป็นเวลานาน
ตารางภาคผนวกที่ 2 ปฏิกิริยาดิน (Soil reaction) (ดิน:น้้า = 1:1)
ระดับ (rating) พิสัย (range)
เป็นกรดจัดมาก (extreamely acid) < 4.5
เป็นกรดจัด (very strongly acid) 4.5-5.0
เป็นกรดแก่ (strongly acid) 5.1-5.5
เป็นกรดปานกลาง (moderately acid) 5.6-6.0
เป็นกรดเล็กน้อย (slightly acid) 6.1-6.5
เป็นกลาง (near neutral) 6.6-7.3
เป็นกลางอย่างอ่อน (slightly alkali) 7.4-8.4
เป็นด่างแก่ (strongly alkali) 8.5-9.0
เป็นด่างจัด (extreamely alkali) > 9.0
ที่มา : ส้านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน (2547)