Page 98 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านใหม่มงคล หมู่ที่ 2 ตำบลบัวใหญ่ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ลุ่มน้ำสาขาน้ำแหง (รหัส 0910) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09)
P. 98

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       65







                              7.2.5 ธรณีวิทยา
                                   ธรณีวิทยาในพื้นที่ด าเนินการ บ๎านใหมํมงคล หมูํที่ 2 ต าบลบัวใหญํ อ าเภอนาน๎อย
                       จังหวัดนําน จากการศึกษาแผนที่ธรณีวิทยาจังหวัดนําน มาตราสํวน 1: 250,000 (กรมทรัพยากรธรณี,
                       2527) ประกอบด๎วย (ตารางที่ 16 และภาพที่ 19)

                                   1) หินตะกอนและหินชั้น (sedimentary and metamorphic rock)
                                         (1) ยุคเพอร์เมียน-ไทรแอสซิก (Permian-Triassic  period)  สัญลักษณ์แผนที่
                       PTr มีอายุประมาณ 260-240 ล๎านปีผํานมาแล๎ว ประกอบด๎วยหินทราย หินทรายเนื้อภูเขาไฟ หินปูน
                       เนื้อดิน หินไรโอลิติกทัฟฟ์กึ่งแปรสภาพ หินดินดาน หินปูนเป็นเลนส์ หินเชิร์ตและหินปูนเนื้อไขํปลา

                                         (2) ยุคไทรแอสซิก-จูแรสซิก (Triassic-Jurassic period) สัญลักษณ์แผนที่ TrJ
                       มีอายุประมาณ 220-180 ล๎านปีผํานมาแล๎ว ประกอบด๎วยหินกรวดมน หินทรายสีน้ าตาลแดง แทรก
                       สลับด๎วยหินดินดานและหินโคลน
                                   2) หินอัคนี (igneous rocks)

                                         (1) ยุคจูแรสซิก (Jurassic period) สัญลักษณ์แผนที่ Jv มีอายุประมาณ 200-
                       140 ล๎านปีผํานมาแล๎ว ประกอบด๎วยหินไรโอไลต์ หินไรโอลิติกทัฟฟ์ และหินแอนดิซิติกทัฟฟ์

                       ตารางที่ 16  ธรณีวิทยา พื้นที่ด าเนินการ บ๎านใหมํมงคล หมูํที่ 2 ต าบลบัวใหญํ อ าเภอนาน๎อย
                                  จังหวัดนําน

                                                                                               เนื้อที่
                       ลัญลักษณ์                         ค าอธิบาย
                                                                                               ไร่   ร้อยละ
                         PTr       หินทราย หินทรายเนื้อภูเขาไฟ หินปูนเนื้อดิน หินไรโอลิ      282  17.30
                                   ติกทัฟฟ์กึ่งแปรสภาพ หินดินดาน หินปูนเป็นเลนส์ หินเชิร์ต
                                   และหินปูนเนื้อไขํปลา

                         TrJ       หินกรวดมน หินทรายสีน้ าตาลแดง แทรกสลับด๎วยหินดินดาน       821  50.37
                                   และหินโคลน
                         Jv        หินไรโอไลต์ หินไรโอลิติกทัฟฟ์ และหินแอนดิซิติกทัฟฟ์       527  32.33

                                                      รวมเนื้อที่ทั้งหมด                   1,630  100.00

                              7.2.6 ธรณีสัณฐานและวัตถุต้นก าเนิดดิน

                                   จากการศึกษาข๎อมูลข๎อมูลทรัพยากรดิน (ส านักส ารวจและวางแผนการใช๎ที่ดิน, 2552)
                       และข๎อมูลธรณีวิทยา (กรมทรัพยากรธรณี, 2549) สามารถแบํงลักษณะทางธรณีสัณฐานและวัตถุต๎น
                       ก าเนิดดินในพื้นที่ด าเนินการ บ๎านใหมํมงคล หมูํที่ 2 ต าบลบัวใหญํ อ าเภอนาน๎อย จังหวัดนําน ได๎ดังนี้

                                   1) วัตถุต๎นก าเนิดดินเป็นตะกอนน้ าพาท๎องถิ่น (local alluvium) เกิดบริเวณสองข๎าง
                       ของห๎วยฮูดและห๎วยปง มีน้ าไหลหลังฝนตกประมาณ 1-2  วัน เป็นวัตถุต๎นก าเนิดดินที่เคลื่อนที่โดย
                       อิทธิพลของน้ าและตกตะกอนในรํองเขา ประกอบด๎วย กรวด ทราย ทรายแป้งและดินเหนียว
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103