Page 102 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านใหม่มงคล หมู่ที่ 2 ตำบลบัวใหญ่ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ลุ่มน้ำสาขาน้ำแหง (รหัส 0910) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09)
P. 102

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       67







                                   2)  วัตถุต๎นก าเนิดดินเป็นวัตถุตกค๎าง (residuum) จากการผุพังสลายตัวของหินดินดาน
                       โดยมีหินทรายแป้งและหินทรายแทรกสลับ และหินอัคนีที่เป็นกลางหรือเป็นดําง ได๎แกํ หินไรโอไลต์ หิน
                       ไรโอลิติกทัฟฟ์และรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนย๎ายมาเป็นระยะทางใกล๎ๆ โดยแรงโน๎มถํวง
                       บริเวณเชิงเขา

                              7.2.7 ทรัพยากรดิน

                                   ผลการส ารวจดิน มาตราสํวน 1:4,000 ในพื้นที่ด าเนินการบ๎านใหมํมงคล หมูํที่ 2
                       ต าบลบัวใหญํ อ าเภอนาน๎อย จังหวัดนําน  สามารถสรุปหนํวยแผนที่ดิน ตามระบอนุกรมวิธานดิน
                       (Soil  Taxonomy,  2014) พร๎อมประเมินระดับความอุดมสมบูรณ์ของดิน ได๎ดังนี้ (ตารางที่ 17-19
                       และภาพที่ 20)

                                                  1) ดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้ าค่อนข้างเลวและดิน

                                                  ร่วนละเอียด (Alluvial  Complex  somewhat  poorly
                                                  drained and fine loamy variants : AC-spd, fl)
                                                  การจ าแนกดิน :  Fine loamy, mixed, active,
                                                                isohyperthermic Aquic Haplustepts

                                                  การก าเนิด: เกิดจากการทับถมของตะกอนล าน้ ารํวมกับวัสดุที่
                                                  สลายตัวผุพังจากหินที่เป็นวัตถุต๎นก าเนิดดิน แล๎วถูกเคลื่อนย๎ายตาม
                                                  แรงโน๎มถํวงของโลกจากบริเวณที่สูงกวําลงไปทับถมบริเวณทางน้ า

                                                  ในหุบเขา
                                                  สภาพพื้นที่  : ราบเรียบถึงคํอนข๎างราบเรียบ มีความลาดชัน  0-2
                                                  เปอร์เซ็นต์
                                                  การระบายน้ า : คํอนข๎างเลว
                                                  การไหลบ่าของน้ าบนผิวดิน : ช๎า

                                                  การซึมผ่านได้ของน้ า : ช๎า
                                                  การใช้ประโยชน์ที่ดิน : ไผํ กล๎วย
                                                  การจัดเรียงชั้น : Ap-Bw1-Bw2

                                                  ลักษณะและสมบัติดิน : สมบัติดินไมํแนํนอน เนื่องจากตะกอนที่น้ า
                                                  พามาทับถมในแตํละปี จากการส ารวจในพื้นที่ด าเนินการโดยจุด
                                                  ตรวจสอบพบวํา เป็นดินลึกมาก ดินบนหนาประมาณ 15-30
                                                  เซนติเมตร มีเนื้อดินเป็นดินรํวนถึงดินรํวนปนดินเหนียว สีน้ าตาล

                                                  และสีเทาปนน้ าตาล พบจุดประสีน้ าตาลเข๎ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรด
                                                  ปานกลางถึงเป็นกลาง (pH  6.0-7.0) สํวนดินลํางเป็นดินรํวนปนดิน
                                                  เหนียว ดินรํวนปนทราย ดินรํวน ที่สลับชั้นเนื้อดินไมํแนํนอนแล๎วแตํ
                                                  ตะกอนที่น้ าพามาทับถมในแตํละปี มีสีเทาและสีน้ าตาลปนเทาเข๎ม มี

                                                  จุดประสีเทาและสีน้ าตาลเข๎มเล็กน๎อย ปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน๎อย

                                                  ถึงเป็นกลาง (pH 6.5-7.0)
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107