Page 144 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านใหม่มงคล หมู่ที่ 2 ตำบลบัวใหญ่ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ลุ่มน้ำสาขาน้ำแหง (รหัส 0910) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09)
P. 144

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       97






                                     2) ข้อเสนอแนะในการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                                          (1) สภาพพื้นที่ด าเนินการสํวนใหญํเป็นพื้นที่สูงและขาดความอุดมสมบูรณ์
                       การก าหนดรูปแบบอนุรักษ์ดินและน้ าควรให๎สอดคล๎องกับลักษณะของดินและสภาพพื้นที่
                                          (2) ควรมีการติดตามประเมินผล การพัฒนาที่ดินในพื้นที่ด าเนินการในด๎าน

                       ตํางๆ เชํน การอนุรักษ์ดินและน้ า การปรับปรุงบ ารุงดินเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร เพื่อให๎ทราบ
                       ถึงปัญหาอุปสรรค และก าหนดแนวทางแก๎ไขได๎อยํางถูกต๎อง เหมาะสม
                                          (3) การขยายผลการพัฒนาที่ดินในพื้นที่ด าเนินการซึ่งเป็นพื้นที่ตัวแทนสภาพ
                       ปัญหาของเขตพัฒนาที่ดินลุํมน้ าห๎วยน้ าแหง จังหวัดนําน มีการจ ากัดบริเวณไว๎เพียงสํวนหนึ่ง เพื่อให๎

                       การพัฒนาที่ดินมีประสิทธิภาพ เป็นรูปธรรมและเกิดความยั่งยืน ควรมีการขยายผลโดยก าหนดพื้นที่
                       ด าเนินการเพิ่มเติมภายในบริเวณเขตพัฒนาที่ดินลุํมน้ าห๎วยน้ าแหง เพื่อให๎งานพัฒนาที่ดินครอบคลุม
                       ทุกสภาพปัญหาในพื้นที่ลุํมน้ า


                       8. สรุปผล

                              จากการด าเนินการรวบรวมข๎อมูลและส ารวจเก็บข๎อมูลด๎านตํางๆ ในภาคสนาม เพื่อน ามา
                       วิเคราะห์สภาพปัญหา สามารถสรุปได๎ดังนี้
                              8.1  สรุปผลการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลด้านกายภาพและสภาพปัญหา เขตพัฒนาที่ดิน

                       ลุ่มน้ าห้วยน้ าแหง จังหวัดน่าน
                                  สภาพพื้นที่ของเขตพัฒนาที่ดินลุํมน้ าห๎วยน้ าแหง จังหวัดนําน เป็นภูเขาสูงสลับกับที่ราบ
                       ระหวํางเขา ซึ่งเป็นสํวนหนึ่งของเทือกเขาผีปันน้ าตะวันออก อยูํสูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ

                       300-1,121 เมตร พื้นที่สํวนใหญํเป็นที่ลาดชันเชิงซ๎อน มีความลาดชันมากกวํา 35 เปอร์เซ็นต์
                                  ด๎านสภาพการใช๎ที่ดิน พื้นที่สํวนใหญํเป็นพื้นที่ป่าไม๎ มีเนื้อที่ 119,035 ไรํ หรือร๎อยละ
                       49.85 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน รองลงมาเป็นพื้นที่เกษตรกรรม มีเนื้อที่ 110,471 ไรํ หรือร๎อยละ
                       46.24 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร๎าง มีเนื้อที่ 5,782 ไรํ หรือร๎อยละ 2.42                                            97

                       ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน พื้นที่เบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 2,356 ไรํ หรือร๎อยละ 0.99 ของพื้นที่เขตพัฒนา
                       ที่ดิน พื้นที่น้ า มีเนื้อที่ 1,225 ไรํ หรือร๎อยละ 0.50 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน ตามล าดับ
                                  เขตพัฒนาที่ดินลุํมน้ าห๎วยน้ าแหง จังหวัดนําน มีพื้นที่ชลประทาน 5,173 ไรํ หรือร๎อยละ
                       2.17 ของเขตพัฒนาที่ดิน พื้นที่เกษตรกรรมสํวนใหญํอยูํนอกเขตชลประทาน ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ต๎องใช๎น้ า

                       มากเพื่อการเพาะปลูก โดยเฉพาะพื้นที่ท านาข๎าว แตํในเขตพัฒนาที่ดินยังมีพื้นที่แหลํงน้ าอยูํคํอนข๎าง
                       น๎อย ซึ่งอาจท าให๎เกิดปัญหาขาดแคลนน้ าได๎
                                  ด๎านศักยภาพของดิน ดินในพื้นที่ลุํมเหมาะสมดีส าหรับปลูกข๎าว สํวนดินในพื้นที่ดอน
                       พื้นที่สํวนใหญํไมํเหมาะสมส าหรับพืชไรํ ไม๎ผล และไม๎ยืนต๎น โดยมีข๎อจ ากัดเรื่องสภาพพื้นที่เป็นพื้นที่

                       ลาดชันเชิงซ๎อน มีเนื้อที่ 175,560 ไรํ หรือร๎อยละ 73.5 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน ซึ่งยากตํอการ
                       จัดการดูแลรักษาเพื่อการเกษตร เสี่ยงตํอการชะล๎างพังทะลายของดิน สํวนปัญหาของทรัพยากรดินที่
                       พบ ได๎แกํ ปัญหาดินตื้นถึงชั้นหินพื้น ปัญหาดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ปัญหาพื้นที่มีความลาดชัน

                       เชิงซ๎อนและดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149