Page 140 - รายงานการสำรวจดินพื้นที่ดำเนินการบ้านใหม่มงคล หมู่ที่ 2 ตำบลบัวใหญ่ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ลุ่มน้ำสาขาน้ำแหง (รหัส 0910) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09)
P. 140

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       95






                       พืชสดควบคูํไปกับการใช๎ปุ๋ยเคมี เนื่องจากเมื่อปุ๋ยอินทรีย์เหลํานี้สลายตัว จะปลดปลํอยธาตุอาหาร
                       หลัก ธาตุอาหารรองและจุลธาตุให๎แกํพืชอยํางช๎าๆ นอกจากนี้ยังชํวยปรับปรุงสมบัติทางกายภาพ เคมี
                       และชีวภาพของดินให๎ดีขึ้น ท าให๎ดินโปรํงรํวนซุย การระบายน้ าของดินดีขึ้น ดินดูดยึดน้ าได๎ดี ชํวย
                       รักษาความชุํมชื้นในดินได๎ยาวนานขึ้น ทั้งยังเป็นแหลํงของธาตุอาหารพืชและจุลินทรีย์ดิน การใช๎ปุ๋ย

                       อินทรีย์จึงเป็นผลดีตํอดินในระยะยาว ควรใสํปุ๋ยอินทรีย์ในดินทุกครั้งกํอนท าการเพาะปลูกพืช ปุ๋ยคอก
                       หรือปุ๋ยหมักควรใสํในอัตราประมาณ 2 ตัน/ไรํ สํวนในระบบการปลูกพืชหมุนเวียน ควรมีพืชบ ารุงดิน
                       คือ พืชตระกูลถั่วอยูํในระบบการปลูกพืชหมุนเวียนกับพืชหลัก เชํน พืชไรํหรือพืชผัก นอกจากนี้ยัง
                       อาจใช๎วิธีการปลูกพืชแซม กลําวคือ ปลูกพืชตระกูลถั่วแซมระหวํางแถวไม๎ผลหรือไม๎ยืนต๎นซึ่งจะชํวย

                       ปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดินและกํอให๎เกิดรายได๎เสริมด๎วย
                                          (3) การกรํอนที่เกิดขึ้นในระดับปานกลางโดยเฉพาะการเพาะปลูกในพื้นที่ซึ่งมี
                       ความลาดชันสูงกวํา 12  เปอร์เซ็นต์ สภาพพื้นที่สูงที่มีความลาดชัน ท าให๎เกิดการชะล๎างพังทลายได๎
                       งําย ท าให๎ศักยภาพของดินในการเกษตรต่ า การที่จะใช๎ประโยชน์ควรพิจารณาวําใช๎ประโยชน์ทางด๎าน

                       ใด ถ๎าเป็นดินตื้นมาก มีกรวดปะปนมาก เป็นพื้นที่ที่มีความลาดชันสูงกวํา 12 เปอร์เซ็นต์ เกิดการกัด
                       กรํอนดินอยํางรุนแรง ควรน าพื้นที่เหลํานี้มาปลูกป่าไม๎โตเร็ว หรือท าทุํงหญ๎าเลี้ยงสัตว์ จะเหมาะสม
                       กวํา สํวนบริเวณพื้นที่ที่มีความลาดชันต่ ากวํา 12  เปอร์เซ็นต์ ดินเป็นดินตื้น สามารถน ามาปลูกพืช

                       เศรษฐกิจได๎ โดยกระท าควบคูํไปกับการป้องกันการชะล๎างพังทลายของดิน โดยผสมผสานวิธีกลและ
                       วิธีการทางพืช ส าหรับวิธีการทางพืช เชํน ปลูกพืชเป็นแถบตามแนวระดับขวางความลาดเทของพื้นที่
                       ปลูกแถบหญ๎าแฝกขวางตามแนวระดับเพื่อชํวยลดการไหลบําของน้ าและชํวยดักตะกอน ปลูกพืช
                       ตระกูลถั่วสลับกับแถวพืชหลัก ปลูกพืชตระกูลถั่วแซมหรือเหลื่อมฤดู และปลูกพืชคลุมดินในสวนผลไม๎
                       หรือไม๎ยืนต๎น ส าหรับพื้นที่ที่มีความลาดชันเกิน 5 เปอร์เซ็นต์ ควรใช๎วิธีกล เชํน ท าคันดิน คันเบนน้ า

                       ทางระบายน้ า บํอดักตะกอนหรือบํอน้ าในไรํนา เพื่อลดการชะล๎างพังทลายของหน๎าดิน นอกจากนี้
                       ควรเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให๎แกํดินและปรับปรุงบ ารุงดินด๎วยการปลูกพืชคลุมดิน ปลูกพืชตระกูลถั่ว
                       รวมถึงการใช๎ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หรือพืชปุ๋ยสด

                                          (4) พื้นที่ลาดชันเชิงซ๎อน ซึ่งถือวํายากตํอการจัดการเพื่อการเกษตร ไมํ                                                     95
                       เหมาะสมส าหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ ควรอนุรักษ์ไว๎เป็นพื้นที่ป่าตามธรรมชาติ แตํในพื้นที่
                       ด าเนินการ ได๎มีการใช๎พื้นที่ดังกลําวในการท าการเกษตรโดยเฉพาะการปลูกข๎าวโพดเลี้ยงสัตว์และ
                       ยางพารา จึงจ าเป็นต๎องใช๎มาตรการการอนุรักษ์ดินแบบเข๎มงวด  โดยใช๎มาตรการวิธีกลรํวมกับ

                       มาตรการวิธีพืช เชํน คูรับน้ าขอบเขารํวมกับขั้นบันไดดินและปลูกพืชตามแนวระดับ ท าแนวคันดิน
                       รํวมกับหญ๎าแฝก หรือปลูกพืชคลุมดินโดยใช๎พืชตระกูลถั่วเพื่อชํวยควบคุมการชะล๎างพังทลายของดิน
                       และปรับปรุงบ ารุงดิน (กลุํมอนุรักษ์ดินและน้ า, 2544)
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145