Page 88 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 88

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          65


                     7.1.4 ความเหมาะสมของดินทางด้านวิศวกรรม
                        การประเมินความเหมาะสมของดินส าหรับทางด้านวิศวกรรม จ าแนกโดยใช้หลักเกณฑ์ของกรมพัฒนา

               ที่ดิน โดยจ าแนกตามคู่มือการวินิจฉัยคุณภาพของดินด้านวิศวกรรมในประเทศไทย สามารถสรุปศักยภาพของดิน
               ทางด้านวิศวกรรม (ตารางที่ 18) ได้ดังนี้
                        1) การใช้เป็นวัสดุหน้าดิน
                           - เหมาะสมดีส าหรับการใช้เป็นวัสดุหน้าดิน ได้แก่ หน่วยแผนที่ดินที่ AC-spd,fl-lA AC-spd,fsi-lA

               Mkn-slA Na-fsi-silA มีเนื้อที่ 16,473 ไร่ หรือร้อยละ 12.37 ของพื้นที่
                           - เหมาะสมปานกลางส าหรับการใช้เป็นวัสดุหน้าดิน มีข้อจ ากัดเล็กน้อยที่เกี่ยวข้องกับเนื้อดินและ
               สภาพภูมิประเทศ ได้แก่ หน่วยแผนที่ดิน Ws-gm-clB Ws-vd,gm-clB Ws-clB Ws-clC Ws-vd-clB Ws-vd-clC
               Ws-vd-Ws-vd,gm-clB Ws-vd,fl-clB และ Ws-vd,fl-clC มีเนื้อที่ 19,604 ไร่ หรือร้อยละ 14.72 ของพื้นที่

                           - ไม่เหมาะสมส าหรับการใช้เป็นวัสดุหน้าดิน มีข้อจ ากัดปานกลางที่เกี่ยวข้องกับความหนาของวัสดุ
               ที่เหมาะสม ความลึกที่พบก้อนกรวดมาก และสภาพภูมิประเทศ ได้แก่ หน่วยแผนที่ดิน Li-gclD Li-sgclB Li-sgclC
               Li-sgclD และ Ws-clD มีเนื้อที่ 15,053 ไร่ หรือร้อยละ 11.31 ของพื้นที่
                           - ไม่เหมาะสมอย่างยิ่งส าหรับการใช้เป็นวัสดุหน้าดิน มีข้อจ ากัดมากเกี่ยวข้องกับสภาพภูมิประเทศ

               ได้แก่ หน่วยแผนที่ดิน Li-gclE Li-gclF Ws-clE และ Ws-clF มีเนื้อที่ 81,534 ไร่ หรือร้อยละ 61.24 ของพื้นที่
                        2) การใช้เป็นแหล่งทรายและกรวด
                           - ไม่เหมาะสมอย่างยิ่งส าหรับการใช้เป็นแหล่งทรายและกรวด มีข้อจ ากัดรุนแรงมากที่เกี่ยวข้องกับ

               การจ าแนกดินตามระบบ Unified และความลึกถึงชั้นหินพื้น ได้แก่ หน่วยแผนที่ดิน AC-spd,fl-lA AC-spd,fsi-lA
               Li-gclD Li-gclE Li-gclF Li-sgclB Li-sgclC Li-sgclD Mkn-slA Na-fsi-silA Ws-gm-clB Ws-vd,gm-clB Ws-clB
               Ws-clC Ws-clD Ws-clE Ws-clF Ws-vd-clB Ws-vd-clC Ws-vd-Ws-vd,gm-clB Ws-vd,fl-clB และ Ws-vd,fl-clC
               มีเนื้อที่ 132,664 ไร่ หรือร้อยละ 99.64 ของพื้นที่
                        3) การใช้เป็นดินถมหรือดินคันทาง

                           - เหมาะสมปานกลางส าหรับการใช้เป็นดินถมหรือดินคันทาง มีข้อจ ากัดปานกลางที่การระบายน้ า
               ของดิน ได้แก่ หน่วยแผนที่ดิน AC-spd,fl-lA AC-spd,fsi-lA และ Mkn-slA มีเนื้อที่ 14,736 ไร่ หรือร้อยละ
               11.07 ของพื้นที่

                           - ไม่เหมาะสมส าหรับการใช้เป็นดินถมหรือดินคันทาง มีข้อจ ากัดปานกลางที่การระบายน้ าของดิน
               ได้แก่ หน่วยแผนที่ดิน AC-spd,fl-lA AC-spd,fsi-lA Li-gclD Li-gclE Li-gclF Li-sgclB Li-sgclCLi-sgclD Na-fsi-silA
               Ws-gm-clB  Ws-vd,gm  -clB  Ws-clB  Ws-clC  Ws-clD  Ws-clE  Ws-clF  Ws-vd-clB  Ws-vd-clC  Ws-vd-Ws-
               vd,gm-clB Ws-vd,fl-clB และ Ws-vd,fl-clC มีเนื้อที่ 123,376 ไร่ หรือร้อยละ 92.66 ของพื้นที่

                        4) การใช้เป็นเส้นทางแนวถนน
                           - ไม่เหมาะสมส าหรับการใช้เป็นเส้นทางแนวถนน มีข้อจ ากัดรุนแรงที่เกี่ยวข้องกับการจ าแนกดินตาม
               ระบบ Unified ความลึกถึงชั้นหินพื้น และสภาพพื้นที่ ได้แก่ หน่วยแผนที่ดิน AC-spd,fl-lA AC-spd,fsi-lA Li-gclD
               Li-gclE  Li-gclF  Li-sgclB  Li-sgclC  Li-sgclD  Ws-gm-clB  Ws-vd,gm-clB  Ws-clB  Ws-clC  Ws-clD  Ws-clE

               Ws-clF Ws-vd-clB Ws-vd-clC Ws-vd-Ws-vd,gm-clB Ws-vd,fl-clB และ Ws-vd,fl-clC มีเนื้อที่ 5 3 ,259 ไร่
               หรือร้อยละ 40.0 ของพื้นที่
                           - ไม่เหมาะสมอย่างยิ่งส าหรับการใช้เป็นเส้นทางแนวถนน มีข้อจ ากัดรุนแรงมากที่เกี่ยวข้องกับ
               อันตรายจากน้ าท่วมขัง และสภาพพื้นที่ ได้แก่ หน่วยแผนที่ดิน Mkn-slA Na-fsi-silA Li-gclF และ Ws-clF มีเนื้อที่

               79,405 ไร่ หรือร้อยละ 59.64 ของพื้นที่
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93