Page 64 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 64

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          44


                     7.1.2 ทรัพยากรดิน
                        1) ลักษณะและสมบัติดิน

                           จากผลการส ารวจดินแบบค่อนข้างละเอียดและท าแผนที่ดิน มาตราส่วน 1:25,000 ในพื้นที่รองรับการ
               ประกาศเขตส ารวจที่ดินลุ่มน้ าน้ าย่าง จังหวัดน่าน จ าแนกตามระบบอนุกรมวิธานดิน 2014 (Soil Taxonomy, 2014)
               (ตารางที่ 14) ในระดับชุดดิน ซึ่งหน่วยแผนที่ที่ใช้ได้แก่ หน่วยเดี่ยวและหน่วยเชิงซ้อนของประเภทชุดดินหรือดินคล้าย
               และหน่วยเบ็ดเตล็ด สามารถจ าแนกหน่วยแผนที่ดินได้ทั้งหมด 23 หน่วยแผนที่ แบ่งเป็นหน่วยเดี่ยว 22 หน่วย

               และหน่วยเบ็ดเตล็ด 1 หน่วย (ภาพที่ 10 และตารางที่ 15) อธิบายรายละเอียดได้ดังนี้
                           (1) ดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้ าค่อนข้างเลวและเป็นดินทรายแป้งละเอียด (Alluvium
               Complex - somewhat poorly drained and fine-silty variant : AC-spd,fsi) จ าแนกเป็น Fine-silty, mixed,
               semiactive, nonacid, isohyperthermic Fluventic Endoaquepts

                           เป็นดินที่เกิดจากการทับถมของตะกอนล าน้ า บริเวณที่ลุ่มต่ าเป็นแนวแคบๆระหว่างเขาหรือเนินเขา
               สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ (0-2 เปอร์เซ็นต์) การระบายน้ าค่อนข้างเลว น้ าซึมผ่านได้ค่อนข้างช้า
               ดินอุ้มน้ าได้ปานกลาง การไหลบ่าของน้ าผ่านผิวดินได้ช้าถึงปานกลาง มีน้ าแช่ขังบางช่วงเวลาในรอบปี พบแจก
               กระจายอยู่บริเวณต าบลจอมพระ และต าบลยม อ าเภอท่าวังผา และต าบลป่ากลาง อ าเภอปัว

                           เป็นดินลึกถึงลึกมาก ดินบนหนาประมาณ 20 เซนติเมตร มีเนื้อดินเป็นดินร่วน สีน้ าตาลและสีน้ าตาล
               ปนเทา มีจุดประสีเหลืองปนแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0) ดินล่างมีเนื้อดิน
               เป็นดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง ชั้นดินล่างถัดไปอาจพบชั้นดินเหนียวปนทรายแป้งหรือชั้นดินทรายแทรกสลับ

               สีน้ าตาลปนเทา จุดประสีแดง สีน้ าตาลเข้มและสีเทา ในช่วงความลึก 50-75 เซนติเมตรจากผิวดิน พบชั้นดินที่มี
               สีเทาเกิดจากการแช่ขังน้ านาน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) ดินลึกมากกว่า
               100 เซนติเมตรจากผิวดิน อาจพบก้อนกรวดท้องน้ า
                           ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติของดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อนอยู่ในระดับปานกลาง ในฤดูฝนเมื่อใช้
               พื้นที่ในการท าการเกษตร อาจเสี่ยงต่อการถูกน้ าท่วมฉับพลันท าให้พืชที่ปลูกเกิดความเสียหายได้ อย่างไรก็ตาม

               ปัจจุบันในช่วงฤดูฝนเกษตรกรใช้ปลูกข้าวนาด า รวมทั้งปลูกพืชไร่อายุสั้นหลังการท านา เนื่องจากดินยังคงมี
               ความชื้นหลังการท านา และมีแหล่งน้ าตลอดปีจากล าน้ าสาขาย่อย
                           ดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้ าค่อนข้างเลวและเป็นดินทรายแป้งละเอียด พบ 1 หน่วยแผนที่

               ได้แก่
                              - AC-spd,fsi-lA : ดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้ าค่อนข้างเลวและเป็นดินทรายแป้ง
               ละเอียด มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วน ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 923 ไร่ หรือร้อยละ 0.69 ของพื้นที่
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69