Page 51 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 51

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          36


                        4) ทรัพยากรน  า
                           สภาพทางน้ าของพื้นที่รองรับการประกาศเขตส ารวจที่ดินลุ่มน้ าน้ าย่าง จังหวัดน่าน มีล าน้ าสายหลัก

               เพียงสายเดียวคือ ล าน้ าย่างซึ่งไหลผ่านพื้นที่จากตะวันออกไปทางทิศตะวันตก ซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันของน้ าสาขา
               ต่างๆ (ภาพที่ 3) ประกอบด้วย
                           - ทิศเหนือ ได้แก่ ห้วยข้าวหลาว น้ ายาว ห้วยฝาย ห้วยปลาก้าง และน้ าเป้า
                           - ทิศตะวันออก ได้แก่ ห้วยน้ าหมู น้ าไคล้ ห้วยน้ าไคล้ ห้วยหล้า เหมืองหลวง ห้วยไฮ น้ าบัว ห้วยต้นตอง

               ห้วยไร่ ห้วยป่ากลาง ห้วยลึก ห้วยน้ าขุ่น ฮ้วยบง และห้วยบัว
                           - ทิศใต้ ได้แก่ ห้วยปะรัน น้ าสะรอน น้ าแหลว ห้วยแขน และห้วยแม่ยาง
                           - ทิศตะวันตก ได้แก่ น้ าเหมืองหลวงฝายมูล
                           ซึ่งห้วยและล าน้ าทั้งหมดไหลรวมกันเป็นล าน้ าย่างที่ต าบลจอมพระ อ าเภอท่าวังผา และไหลลงไป

               แม่น้ าน่านที่บ้านสบย่าง ต าบลป่าคา อ าเภอท่าวังผา ตามล าดับ นอกจากห้วยและล าน้ าแล้วยังมีอ่างเก็บน้ าที่ส าคัญ
               ได้แก่ อ่างเก็บน้ าบ้านป่ากลาง อ่างเก็บน้ าห้วยบัว และอ่างเก็บน้ าห้วยมืด
                           จะเห็นได้ว่าในพื้นที่มีปริมาณน้ าฝนสูง เมื่อเปรียบเทียบจ านวนห้วยและล าน้ า และความลาดชัน
               ของพื้นที่ จะท าให้พื้นที่เกิดปัญหาการกร่อนดินได้ง่าย หากไม่มีการท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า รวมถึงการกักเก็บน้ า

               เพื่อการเกษตรอย่างเป็นระบบ ซึ่งจะท าให้เกิดการสะสมของตะกอนดินในแหล่งน้ าในปริมาณมากได้ และต้องใช้
               งบประมาณที่สูงมากในการแก้ไขปัญหาในอนาคต


                        5) ทรัพยากรป่าไม้
                           จากหลักเกณฑ์การคัดเลือกพื้นที่ (หัวข้อ 6.2.2) บังคับให้การด าเนินการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ า
               ในพื้นที่ตามบทบัญญัติไว้เท่านั้น พื้นที่อื่นๆไม่สามารถด าเนินการได้ ดังนั้น การแยกวิเคราะห์ระหว่างพื้นที่ทรัพยากร
               ป่าไม้และพื้นที่นอกเขตป่า จึงมีความส าคัญอย่างอย่างยิ่ง แต่เนื่องจากพื้นที่ทั้งหมดมีความเกี่ยวโยงกัน จึงจ าเป็นต้อง
               วิเคราะห์พื้นที่ในภาพรวมทั้งหมด (ตารางที่ 12 และภาพที่ 7)

                           โดยทรัพยากรป่าไม้และพื้นที่นอกเขตป่า ในระดับมาตราส่วน 1: 25,000 (กองนโยบายและแผนการ
               ใช้ที่ดิน, 2555) สามารถจ าแนกได้ดังนี้
                           (1) เขตอุทยานแห่งชาติ มีเนื้อที่ 35,968 ไร่ หรือร้อยละ 27.02 ของพื้นที่

                           (2) เขตป่าสงวนแห่งชาติ ได้แก่ พื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ และพื้นที่ป่าเพื่อเศรษฐกิจมีเนื้อที่ 7,937 ไร่
               หรือร้อยละ 5.96 ของพื้นที่
                           (3) พื้นที่นอกเขตป่า ได้แก่ พื้นที่เขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พื้นที่นอกเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อ
               เกษตรกรรม และพื้นที่อื่นๆ มีเนื้อที่ 89,233 ไร่ หรือร้อยละ 67.02 ของพื้นที่
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56