Page 50 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 50

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          35


                           (2) สมดุลน  า
                              จากสถิติภูมิอากาศ ณ สถานีตรวจวัดอากาศ อ าเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน เฉลี่ย 30 ปี ของจังหวัดน่าน

               (ตารางที่ 10) เมื่อน าค่าปริมาณน้ าฝนเฉลี่ย ศักย์การคายระเหยน้ า (Eto) และ 0.5 ของศักย์การคายระเหยน้ า
               (0.5 Eto) มาวิเคราะห์สภาพสมดุลของน้ าเพื่อการเกษตร (ภาพที่ 6) สรุปได้ดังนี้
                              - ช่วงระยะเวลาที่มีน้ ามากเกินพอ อยู่ในช่วงตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนถึงต้นเดือนตุลาคม
               เป็นช่วงที่มีค่าปริมาณน้ าฝนสูงกว่าศักยภาพการคายระเหยน้ า และมีความเสี่ยงต่อการท่วมขังของน้ าในพื้นที่ราบ

                              - ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกพืช เริ่มตั้งแต่ปลายเดือนมีนาคม และสิ้นสุดการ
               เพาะปลูกช่วงปลายเดือนตุลาคม รวมประมาณ 7 เดือน ซึ่งช่วงนี้มีค่าปริมาณน้ าฝนสูงกว่า 0.5 ของศักยภาพ
               การคายระเหยน้ า ดินมีความชื้นพอ เหมาะต่อการเพาะปลูก ซึ่งมีปริมาณน้ าฝนที่จะท าให้ดินยังมีความชื้นสะสมอยู่
               มากพอที่พืชจะน าไปใช้ประโยชน์ได้ จึงคาดคะเนได้ว่าในช่วงนี้เป็นช่วงที่เหมาะสมส าหรับการปลูกพืชโดยอาศัยน้ าฝน

                              - ช่วงระยะเวลาที่ไม่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก ซึ่งเป็นช่วงที่ขาดน้ า คือ ช่วงต้นเดือนพฤศจิกายนถึง
               ปลายเดือนมีนาคม รวมประมาณ 5 เดือน เนื่องจากปริมาณน้ าฝนและการกระจายของฝนน้อย มีค่าปริมาณน้ าฝนต่ า
               กว่า 0.5 ของค่าการคายระเหยน้ า ปริมาณน้ าฝนไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืช การเพาะปลูกพืชควร
               ระมัดระวัง และจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องหาแหล่งน้ าส ารองไว้ใช้ เช่น บ่อน้ าในไร่นา เป็นต้น








































               ภาพที่ 6 สมดุลน้ าเพื่อการเกษตร สถานีตรวจวัดภูมิอากาศ อ าเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55