Page 3 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 3

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน



                                                                                                          (1)


                                                          บทคัดย่อ



                       การศึกษากระบวนการด าเนินงานด้านส ารวจและจ าแนกดิน เพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ า
               ตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 ด าเนินการในพื้นที่ลุ่มน้ าน้ าย่าง จังหวัดน่าน โดยเป็นโครงการน าร่องใน
               การจัดท าแนวทางการด าเนินการตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 เพื่อหาแนวทางที่เหมาะสม สามารถ

               น าไปเป็นต้นแบบด าเนินการกับพื้นที่อื่นได้ และทราบข้อมูลด้านทรัพยากรดินในพื้นที่ จ าเป็นต้องมีการส ารวจ
               และจ าแนกดินระดับมาตราส่วน 1:25,000 เพื่อประเมินความรุนแรงของปัญหาทรัพยากรดินที่เกิดขึ้นจริงในพื้นที่
               และก าหนดให้เป็นพื้นที่รองรับการประกาศเขตส ารวจที่ดิน และส ารวจและจ าแนกดินระดับมาตราส่วน 1:4,000
               เพื่อให้มีความละเอียดเพียงพอในการออกแบบระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ในพื้นที่ที่ถูกก าหนดเป็นพื้นที่รองรับการ
               ประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ า

                     พื้นที่รองรับการประกาศเขตส ารวจที่ดิน ลุ่มน้ าน้ าย่าง จังหวัดน่าน อยู่ในลุ่มน้ าย่อยของลุ่มน้ าสาขาแม่น้ าน่าน
               ส่วนที่ 2 ของลุ่มน้ าหลักแม่น้ าน่าน มีเนื้อที่รวม 133,138 ไร่ มีความสูงระหว่าง 216-1,813 เมตรจากระดับทะเลปาน
               กลาง สภาพภูมิประเทศประกอบด้วย ที่ราบ ที่ราบระหว่างเนินเขา เนินเขา ภูเขา และเทือกเขาสูงชัน สภาพพื้นที่

               ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบจนถึงพื้นที่สูงชัน และพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ลาดชันเชิงซ้อน (ลาดชันมากกว่า 35
               เปอร์เซ็นต์) มีเนื้อที่รวม 68,380 ไร่ (ร้อยละ 51.36 ของพื้นที่)
                     ลักษณะของดิน ดินในที่ลุ่มจัดอยู่ในกลุ่มดินร่วน   มีเนื้อที่ 16,473 ไร่ (ร้อยละ 12.37 ของพื้นที่)
               ประกอบด้วย กลุ่มดินร่วนเนื้อปานกลางลึกมาก  มีเนื้อที่ 13,813 ไร่ (ร้อยละ 10.38 ของพื้นที่) และกลุ่มดินร่วน

               เนื้อละเอียดปานกลางลึกมาก มีเนื้อที่ 2,660 ไร่ (ร้อยละ 1.99 ของพื้นที่) ส่วนดินในที่ดอนจัดอยู่ในกลุ่มดินเหนียว
               และดินตื้น  มีเนื้อที่ 43,802 ไร่ (ร้อยละ 32.90 ของพื้นที่) ประกอบด้วย กลุ่มดินเหนียวลึกปานกลาง มีเนื้อที่
               32,653 ไร่ (ร้อยละ 24.52 ของพื้นที่) และกลุ่มดินเหนียวปนเศษหิน เนื้อที่ 11,149 ไร่ (ร้อยละ 8.38 ของพื้นที่)
                     ด้านศักยภาพของดิน ดินในพื้นที่ลุ่มส่วนใหญ่ เหมาะสมดีและเหมาะสมปานกลางส าหรับปลูกข้าว

               มีข้อจ ากัดเรื่องเนื้อดินบนเป็นดินร่วนหรือดินร่วนปนทราย และอันตรายจากการถูกน้ าท่วม มีเนื้อที่ 16,473 ไร่
               (ร้อยละ 12.37 ของพื้นที่) ส่วนดินในพื้นที่ดอนเหมาะสมดีมากส าหรับปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ มันส าปะหลัง ยางพารา
               มะม่วง มะขาม ส้ม ลิ้นจี่ และล าไย มีเนื้อที่ 26,378 ไร่ (ร้อยละ 19.81 ของพื้นที่) เหมาะสมดีและเหมาะสม
               ปานกลางส าหรับปลูกปลูกข้าวโพด และมันส าปะหลัง มีข้อจ ากัดเรื่องความเสี่ยงต่อการขาดน้ า ความลึกที่พบชั้น

               หินพื้น และสภาพพื้นที่ มีเนื้อที่ 24,627 ไร่ (ร้อยละ 18.50 ของพื้นที่) เหมาะสมปานกลางส าหรับปลูกข้าวโพด
               มันส าปะหลัง ปาล์มน้ ามัน ลิ้นจี่ มีเนื้อที่ 12,057 ไร่ (ร้อยละ 9.06 ของพื้นที่)
                     ปัญหาทรัพยากรดิน ได้แก่ ปัญหาดินในพื้นที่ลุ่มเสี่ยงต่อการถูกน้ าท่วมขังฉับพลัน มีเนื้อที่ 5,448 ไร่ (ร้อยละ
               4.09 ของพื้นที่)  ปัญหาดินตื้นถึงชั้นหินพื้นที่ระดับความลึก 25-50 เซนติเมตร มีเนื้อที่ 11,150 ไร่ (ร้อยละ 8.38

               ของพื้นที่)  ปัญหาดินบนพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน (มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์) ไม่เหมาะที่จะน ามาใช้ท า
               การเกษตร มีเนื้อที่ 68,380 ไร่ (ร้อยละ 51.36 ของพื้นที่)  และบริเวณที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินไม่เหมาะสมกับ
               ศักยภาพของดิน มีเนื้อที่ 2,254 ไร่ (ร้อยละ 1.69 ของพื้นที่)
                       การคัดเลือกพื้นที่รองรับประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ า โดยใช้ลักษณะและสมบัติของดินที่ได้จากการ

               ส ารวจดินร่วมกับการประเมินอัตราการกร่อนดิน เป็นพื้นที่ที่มีการท าการเกษตรที่มีความเสี่ยงต่อการกร่อนดินสูง
               มีแนวโน้มว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดดินถล่มในอนาคต เกษตรกรเจ้าของพื้นที่มีความพร้อมและยินยอมให้
               กรมพัฒนาที่ดินเข้าด าเนินมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าในพื้นที่ ดังนั้นจึงได้คัดเลือกพื้นที่ต าบลป่ากลาง อ าเภอปัว

               จังหวัดน่าน เพื่อเป็นพื้นที่ศึกษากระบวนการท างานการประกาศอนุรักษ์ดินและน้ าในล าดับต่อไป
   1   2   3   4   5   6   7   8