Page 93 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองพระเพลิงน้อยลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปราจีนบุรี (รหัส 15) พื้นที่ดำเนินการ บ้านท่าผักชี หมู่ 6 และบ้านหนองปักหลัก หมู่ 11 ตำบลพระเพลิง อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว
P. 93

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          73


                                      3) พื้นที่ปลายน้้า สํวนใหญํเป็นพื้นที่รับน้้า พื้นที่ลุํม มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงลูกคลื่น
                     ลอนลาดเล็กน๎อย มีความลาดชันตั้งแตํ 0-5 เปอร์เซ็นต์ อยูํบริเวณตอนกลางของเขตพัฒนาที่ดินลุํมน้้า วางตัว

                     ตามแนวตะวันตกเฉียงใต๎-ตะวันออกเฉียงเหนือ สองฝั่งขนานไปกับคลองพระเพลิงใหญํและคลองพระเพลิง
                     น๎อย มีความสูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ 48-70 เมตร
                                7.2.4 ทรัพยากรน้้า

                                   พื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุํมน้้าคลองพระเพลิงน๎อย จังหวัดสระแก๎ว แหลํงน้้าธรรมชาติที่ส้าคัญ คือ

                                   คลองพระเพลิงน๎อย ไหลจากด๎านทิศตะวันตกขึ้นไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ผํานบริเวณบ๎าน
                     นายาว บ๎านคลองขาม บ๎านทุํงสํอหงษา บ๎านสองสี บ๎านซับมะนาว บ๎านเกาะรัง  บ๎านนา บ๎านหลักร๎อย

                                   คลองพระเพลิงใหญํ ไหลจากด๎านทิศใต๎ขึ้นไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ผํานบริเวณบ๎านนา

                     อิสาน บ๎านทําเต๎น บ๎านแหลมทอง บ๎านใหมํไทรทอง บ๎านไทรทอง บ๎านทําผักชี บ๎านหนองปักหลัก ไหลไปบรรจบ
                     กับคลองพระเพลิงน๎อย ที่บ๎านภูเงิน และไหลไปบรรจบกับคลองพระสะทึงที่บ๎านนาคันหัก

                                   คลองพระเพลิงน๎อย และคลองพระเพลิงใหญํ เป็นแหลํงน้้าขนาดใหญํมีน้้าไหลตลอดปี สามารถ

                     น้าไปใช๎ประโยชน์ทางการเกษตรได๎ และยังมีคลองขนาดเล็ก ได๎แกํคลองทุํงสอ คลองไดหิน คลองตะบะ คลอง
                     หลอด  นอกจากนั้นยังมีหนองบึงธรรมชาติกระจายอยูํทั่วไป แตํเป็นแหลํงน้้าขนาดเล็กเทํานั้น ระบบล้าธารมีแบบ

                     รูปทางน้้าเป็นแบบกิ่งไม๎ (ภาพที่ 16)
                                7.2.5  สภาพการใช้ที่ดิน
                                   ผลการศึกษาและวิเคราะห์ข๎อมูลสภาพการใช๎ที่ดินบริเวณพื้นที่ลุํมน้้าคลองพระเพลิงน๎อย

                     จังหวัดสระแก๎ว จากข๎อมูลแผนที่สภาพการใช๎ที่ดิน มาตราสํวน 1:25,000 ของกองนโยบายและแผนการใช๎
                     ที่ดิน (2556) พบวํา การใช๎ที่ดินสํวนใหญํพื้นที่เกษตรกรรม มีเนื้อที่ 152,596 ไรํ หรือร๎อยละ 75.64 ของพื้นที่
                     เขตพัฒนาที่ดินลุํมน้้า รองลงมาเป็นพื้นที่ป่าไม๎ มีเนื้อที่รวมประมาณ 36,583 ไรํ หรือร๎อยละ 18.14 ของพื้นที่
                     เขตพัฒนาที่ดินลุํมน้้า พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร๎าง มีเนื้อที่รวมประมาณ 8,307  ไรํ หรือร๎อยละ 4.12 ของ

                     พื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุํมน้้า พื้นที่แหลํงน้้า มีเนื้อที่รวมประมาณ 3,034 ไรํ หรือร๎อยละ 1.50  ของพื้นที่เขต
                     พัฒนาที่ดินลุํมน้้า และพื้นที่เบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่รวมประมาณ 1,191 ไรํ หรือร๎อยละ 0.60 ของพื้นที่เขตพัฒนา
                     ที่ดินลุํมน้้า (ตารางที่ 6 และภาพที่ 17)

                                   การใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม ประกอบด๎วย
                                      1) นาข๎าว มีเนื้อที่ 47,852 ไรํ หรือร๎อยละ 23.72 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุํมน้้า พบ

                     กระจายอยูํทั่วไปในพื้นที่
                                      2) พืชไรํ มีเนื้อที่ 72,721 ไรํ หรือร๎อยละ 36.05 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุํมน้้า พืชไรํ
                     ที่ส้าคัญ คือ มันส้าปะหลัง อ๎อย และข๎าวโพด พบกระจายอยูํทั่วไปในพื้นที่ พบมากบริเวณด๎านตอนบน และ

                     ตอนกลางของพื้นที่ลงมาทางทิศตะวันตกเฉียงใต๎ และบริเวณด๎านทิศตะวันออกบางสํวน
                                      3) ไม๎ยืนต๎น มีเนื้อที่ 29,776 ไรํ หรือร๎อยละ 14.75 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุํมน้้า ไม๎
                     ยืนต๎นที่ส้าคัญ คือ ยูคาลิปตัส ยางพารา และปาล์มน้้ามัน พบกระจายอยูํทั่วไปในพื้นที่ และพบมากบริเวณ
                     ด๎านตอนใต๎ของพื้นที่
                                      4) ไม๎ผล มีเนื้อที่ 2,015 ไรํ หรือร๎อยละ 1.00 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุํมน้้า ไม๎ผลที่

                     ส้าคัญ คือ มะมํวง ไม๎ผลผสม และล้าไย พบกระจายอยูํทั่วไปในพื้นที่ (ตารางที่ 6 และภาพที่ 17)
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98