Page 90 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองพระเพลิงน้อยลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปราจีนบุรี (รหัส 15) พื้นที่ดำเนินการ บ้านท่าผักชี หมู่ 6 และบ้านหนองปักหลัก หมู่ 11 ตำบลพระเพลิง อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว
P. 90

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          70


                                7.2.2 สภาพภูมิอากาศ
                                      พื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุํมน้้าคลองพระเพลิงน๎อยอยูํในเขตจังหวัดสระแก๎ว มีลักษณะ

                     ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร๎อน (Tropical monsoon climate) ซึ่งแบํงได๎ 3 ฤดู คือ ฤดูฝนเริ่มตั้งแตํเดือน
                     พฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม โดยได๎รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต๎พัดผํานทะเลและมหาสมุทร
                     ท้าให๎มีอากาศชุํมชื้นและฝนตกชุก สํวนฤดูหนาวเริ่มตั้งแตํเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ โดย
                     ได๎รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งพัดเอาความหนาวเย็นและความแห๎งแล๎งมา ส้าหรับฤดูร๎อน

                     เริ่มตั้งแตํเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายนซึ่งมีอากาศร๎อนและอบอ๎าว
                                      จากสถิติภูมิอากาศสถานีตรวจอากาศ อ้าเภอเมือง จังหวัดสระแก๎ว ในรอบ 10 ปี (พ.ศ.
                     2547–2556) ได๎น้ามาใช๎พิจารณาเป็นตัวแทนลักษณะภูมิอากาศในพื้นที่ สรุปได๎ดังนี้ (ตารางที่ 5)

                                      (1) ปริมาณน้้าฝน
                                         จากสถิติปริมาณน้้าฝนเฉลี่ยจังหวัดสระแก๎ว พบวํา มีปริมาณน้้าฝนเฉลี่ยรวม
                     1491.5 มิลลิเมตรตํอปี จ้านวนวันฝนตกรวมตลอดปีเฉลี่ย 146 วัน ชํวงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนเมษายน
                     เป็นระยะที่ฝนตกน๎อย โดยในเดือนธันวาคมเป็นเดือนที่ฝนตกน๎อยที่สุดเฉลี่ย 4.6 มิลลิเมตร ปริมาณฝนตก
                     เริ่มเพิ่มมากขึ้นในชํวงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน และในชํวงตั้งแตํเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม

                     เป็นระยะที่ฝนตกชุก โดยเดือนกันยายนมีปริมาณฝนตกมากที่สุดเฉลี่ย 316.7 มิลลิเมตร
                                      (2) อุณหภูมิ
                                         จากสถิติอุณหภูมิเฉลี่ยของจังหวัดสระแก๎ว พบวํา มีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี 27.56

                     องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ยรายเดือนต่้าสุดในเดือนธันวาคม 25.1 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ยราย
                     เดือนสูงสุดในเดือนเมษายน 29.5 องศาเซลเซียส ซึ่งในแตํละเดือนอุณหภูมิมีคําแตกตํางกันไมํมากนัก
                                      (3) ความชื้นสัมพัทธ์
                                         จากสถิติความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยของจังหวัดสระแก๎ว พบวํา มีคําความชื้นสัมพัทธ์

                     เฉลี่ยตลอดปี เทํากับร๎อยละ 78.5  ความชื้นสัมพัทธ์จะสูงในชํวงระหวํางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม
                     โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีคําความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยสูงสุด เทํากับร๎อยละ 88.0  และตั้งแตํเดือน
                     พฤศจิกายนคําความชื้นสัมพัทธ์จะลดต่้าลง โดยมีคําความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยต่้าสุดในเดือนมกราคม เทํากับ
                     ร๎อยละ 69.0

                                      (4) ความสมดุลน้้า
                                         ส าหรับการวิเคราะห์ช่วงฤดูกาลเพาะปลูกพืชที่เหมาะสม ได้จากการวิเคราะห์
                     ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน  าฝนเฉลี่ยรายเดือน และค่าศักยภาพการคายระเหยน  าของพืชรายเดือนเฉลี่ย
                     (Potential Evapotranspiration : PET) ซึ่งค านวณด้วยวิธี Penman Moteith ในโปรแกรม Cropwat for

                     Windows Version 4.3 น ามาก าหนดจุดกราฟลงบนกระดาษ โดยพิจารณาช่วงเวลาที่เส้นน  าฝนอยู่เหนือ
                     เส้น 0.5  ETo เป็นหลัก เพื่อหาช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมในการเพาะปลูกพืช ผลการวิเคราะห์ช่วงฤดูกาล
                     เพาะปลูก สามารถสรุปได้ดังนี  (ภาพที่ 12)

                                         1) ชํวงระยะเวลาที่เหมาะสมตํอการเพาะปลูกพืช อยูํในชํวงต๎นเดือนเมษายนถึงต๎น
                     เดือนพฤศจิกายน เป็นชํวงที่มีคําปริมาณน้้าฝนสูงกวําคํา 0.5 ของศักยภาพการคายระเหยน้้า ดินมีความชื้นพอ
                     เหมาะตํอการเพาะปลูก ดินอุ๎มน้้าได๎เต็มที่ ซึ่งแม๎จะมีฝนตกน๎อยแตํในดินยังมีความชื้นสะสมอยูํมากพอที่พืชจะ
                     น้าไปใช๎ประโยชน์ได๎ จึงคาดคะเนได๎วําในชํวงนี้เป็นชํวงที่เหมาะสมส้าหรับการปลูกพืชโดยอาศัยน้้าฝน
                                         2) ชํวงระยะเวลาที่มีน้้ามากเกินพอ อยูํในชํวงปลายเดือนเมษายนถึงปลายเดือน

                     ตุลาคม เป็นชํวงที่มีคําปริมาณน้้าฝนสูงกวําศักยภาพการคายระเหยน้้า
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95