Page 56 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองพระเพลิงน้อยลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปราจีนบุรี (รหัส 15) พื้นที่ดำเนินการ บ้านท่าผักชี หมู่ 6 และบ้านหนองปักหลัก หมู่ 11 ตำบลพระเพลิง อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว
P. 56

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          39


                                      หนํวยแผนที่ 25 : กลุํมชุดดินที่ 25 มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 29,371 ไรํ
                     หรือร๎อยละ 1.78 ของพื้นที่ลุํมน้้าสาขา

                                   6) กลุ่มชุดดินที่ 26
                                      กลุํมชุดดินที่ 26 เป็นกลุํมชุดดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินเหนียวละเอียด ดินลึกมาก เกิด
                     จากการทับถมของตะกอนล้าน้้าหรือจากการสลายตัวผุผังของหินเนื้อละเอียด มีการพัฒนาการของดินมา
                     นาน พบในที่ดอนเขตความชื้นดินแบบที่ดินชื้นติดตํอกันนาน สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อยถึง

                     เป็นลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 2-12 เปอร์เซ็นต์ การระบายน้้าของดินดีถึงดีปานกลาง ปฏิกิริยาดิน
                     เป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติต่้า
                                      ปัญหาการใช๎ประโยชน์ที่ดิน : ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติต่้า พื้นที่ลาดชัน

                     ดินงํายตํอการถูกชะล๎างพังทลายสูญเสียดิน
                                      กลุํมชุดดินที่ 26 ที่พบแยกยํอยเป็น 2 หนํวยแผนที่ มีเนื้อที่รวม 1,143  ไรํ หรือ
                     ร๎อยละ 0.07 ของพื้นที่ลุํมน้้าสาขา ได๎แกํ
                                      หนํวยแผนที่ 26B : กลุํมชุดดินที่ 26 มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 797 ไรํ
                     หรือร๎อยละ 0.05 ของพื้นที่ลุํมน้้าสาขา

                                      หนํวยแผนที่ 26C : กลุํมชุดดินที่ 26 มีความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 346 ไรํ
                     หรือร๎อยละ 0.02 ของพื้นที่ลุํมน้้าสาขา
                                   7) กลุ่มชุดดินที่ 28

                                      กลุํมชุดดินที่ 28 เป็นกลุํมชุดดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินเหนียวละเอียดหรือดินเหนียว
                     ละเอียดมากที่มีรอยแตกระแหงกว๎างลึก และพบรอยไถลเป็นชั้นหนาภายในความลึก 100 เซนติเมตรจากผิว
                     ดิน  ดินลึกมาก เกิดจากการทับถมของตะกอนล้าน้้า พบในที่ดอนเขตความชื้นดินแบบที่ดินแห๎งติดตํอกัน
                     นาน สภาพพื้นที่คํอนข๎างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีความลาดชัน 0-5 เปอร์เซ็นต์ การระบาย

                     น้้าของดินดีถึงดีปานกลาง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน๎อยถึงเป็นดํางจัด ความอุดมสมบูรณ์ของดินตาม
                     ธรรมชาติปานกลาง
                                      ปัญหาการใช๎ประโยชน์ที่ดิน : ดินเหนียวจัด เมื่อหน๎าดินเปียกแฉะเกินไปจะไถพรวน
                     ยาก เมื่อดินแห๎งจะเกิดรอยแตกระแหง ท้าให๎รากพืชฉีกขาดได๎งํายและขาดแคลนน้้า

                                      กลุํมชุดดินที่ 28 ที่พบแยกยํอยเป็น 2 หนํวยแผนที่ มีเนื้อที่รวม 3,411  ไรํ หรือ
                     ร๎อยละ 0.21 ของพื้นที่ลุํมน้้าสาขา ได๎แกํ
                                      หนํวยแผนที่ 28 : กลุํมชุดดินที่ 28 มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 2,894 ไรํ
                     หรือร๎อยละ 0.18 ของพื้นที่ลุํมน้้าสาขา

                                      หนํวยแผนที่ 28B : กลุํมชุดดินที่ 28 มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 517  ไรํ
                     หรือร๎อยละ 0.03 ของพื้นที่ลุํมน้้าสาขา
                                   8) กลุ่มชุดดินที่ 29

                                      กลุํมชุดดินที่ 29 เป็นกลุํมชุดดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินเหนียวละเอียดหรือดินเหนียว
                     ละเอียดมาก ดินลึกมาก เกิดจากการทับถมของตะกอนล้าน้้าหรือจากการสลายตัวผุผังของหินเนื้อละเอียด
                     มีการพัฒนาการของดินมานาน พบในที่ดอนเขตความชื้นดินแบบที่ดินแห๎งติดตํอกันนาน สภาพพื้นที่เป็นลูก
                     คลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ การระบายน้้าของดินดีถึงดีปานกลาง ปฏิกิริยาดิน
                     เป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติต่้า
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61