Page 54 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองพระเพลิงน้อยลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปราจีนบุรี (รหัส 15) พื้นที่ดำเนินการ บ้านท่าผักชี หมู่ 6 และบ้านหนองปักหลัก หมู่ 11 ตำบลพระเพลิง อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว
P. 54

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          37


                                7.1.7 ธรณีสัณฐานและวัตถุต้นก้าเนิดดิน
                                   จากการศึกษาข๎อมูลธรณีวิทยาและข๎อมูลทรัพยากรดิน (กรมทรัพยากรธรณี, 2527) และ

                     (ส้านักส้ารวจดินและวางแผนการใช๎ที่ดิน, 2530-2534) สามารถแบํงลักษณะทางธรณีสัณฐานและวัตถุต๎น
                     ก้าเนิดดินในพื้นที่ลุํมน้้าสาขาคลองพระสทึง ออกได๎ดังนี้
                                      1) ที่ราบตะกอนน้้าพา (alluvial plain) ที่ราบหรือคํอนข๎างราบ เกิดการพัดพาตะกอน
                     มาทับถมกันเป็นบริเวณกว๎าง ซึ่งการพัดพาและทับถมของตะกอนจะเกี่ยวข๎องกับแมํน้้าล้าธารเป็นสํวนใหญํ

                                      2) ตะพักล้าน้้า (alluvial terrace) ที่ราบเป็นขั้นๆ เกิดจากทางน้้าที่ตกตะกอน ตกจม
                     ทับถมจนกลายเป็นที่ราบลุํมน้้า แล๎วตํอมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงระดับฐาน กระแสน้้าไหลแรงและสามารถ
                     กัดเซาะที่ราบลุํมน้้าจนต่้าลง จึงท้าให๎ที่ราบลุํมน้้าสํวนที่เหลืออยูํสูงกวําท๎องน้้าใหมํ จนเกิดที่ราบเป็นขั้นๆ

                     ในบริเวณนั้น โดยมีวัตถุต๎นก้าเนิดดินเป็นตะกอนน้้าพา (alluvium)
                                      3)  พื้นผิวที่เหลือจากการกรํอน (erosion  surface) หรือพื้นผิวที่เหลือจากการกรํอน
                     ซอยแบํง (dissected erosion surface) วัตถุต๎นก้าเนิดดินเกิดจากวัตถุเคลื่อนย๎ายและวัตถุตกค๎างของหิน
                     อัคนีพวกหินแกรนิต และหินตะกอนพวกหินดินดานและหินทราย
                                      4) เนินเขาและภูเขา (hill and mountain) สภาพภูมิประเทศมีความลาดชันสูง บาง

                     พื้นที่มีความลาดชันสูงมาก คือ มากกวํา 35  เปอร์เซ็นต์ ได๎แกํ ภูเขา และเทือกเขา พบมากทางด๎านทิศใต๎
                     ของพื้นที่ลุํมน้้า หินที่พบมีทั้งหินอัคนีพวกหินแกรนิต และหินตะกอน พวกหินดินดาน หินทราย หินปูน
                     และควอร์ตไซต์

                                7.1.8 ทรัพยากรดิน
                                   จากการศึกษาข๎อมูลดินของกองส้ารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน มาตราสํวน 1:50,000
                     พ.ศ. 2530-2534  สามารถสรุปทรัพยากรดินในพื้นที่ลุํมน้้าสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ได๎ดังนี้ (ตารางที่ 4
                     และภาพที่ 9)

                                   1) กลุ่มชุดดินที่ 4
                                      กลุํมชุดดินที่ 4 เป็นกลุํมชุดดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินเหนียวละเอียด ดินลึกมาก เกิด
                     จากการทับถมของตะกอนล้าน้้า พบในพื้นที่ราบลุํมหรือตะพักล้าน้้าระดับต่้า มีการพัฒนาการของดินน๎อย
                     สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคํอนข๎างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ การระบายน้้าของดินคํอนข๎างเลว

                     มีน้้าทํวมขังในฤดูฝน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน๎อยถึงเป็นดํางปานกลาง บางพื้นที่เมื่อหน๎าดินแห๎ง ดินจะ
                     แข็ง แตกระแหงกว๎าง และพบรอยไถลหรือก๎อนปูนในหน๎าตัดดิน ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติ
                     ปานกลาง
                                      ปัญหาการใช๎ประโยชน์ที่ดิน : เมื่อหน๎าดินแห๎ง ดินจะแข็ง แตกระแหงกว๎างและลึก ท้า

                     ให๎รากพืชฉีกขาด ตํเมื่อดินเปียกแฉะจะเหนียวติดเครื่องมือ ท้าให๎ไถพรวนยาก และขาดแคลนน้้าในระยะที่
                     ฝนทิ้งชํวงนาน
                                      กลุํมชุดดินที่ 4 พบ 1 หนํวยแผนที่ คือ

                                      หนํวยแผนที่ 4  :  กลุํมชุดดินที่ 4 มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ 2,063  ไรํ
                     หรือร๎อยละ 0.13 ของพื้นที่ลุํมน้้าสาขา
                                   2) กลุ่มชุดดินที่ 6
                                      กลุํมชุดดินที่ 6 เป็นกลุํมชุดดินที่มีเนื้อดินเป็นพวกดินเหนียวละเอียด ดินลึกมาก เกิด
                     จากการทับถมของตะกอนล้าน้้าในพื้นที่ราบลุํมหรือตะพักล้าน้้าระดับต่้า มีการพัฒนาการของดินมานาน

                     สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคํอนข๎างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ การระบายน้้าของดินเลวหรือ
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59