Page 167 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองพระเพลิงน้อยลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปราจีนบุรี (รหัส 15) พื้นที่ดำเนินการ บ้านท่าผักชี หมู่ 6 และบ้านหนองปักหลัก หมู่ 11 ตำบลพระเพลิง อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว
P. 167

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                        132


                   มากกวําร๎อยละ 35 โดยปริมาตร พบเป็นชั้นหนามากกวํา 100 เซนติเมตรจากผิวดิน ภายในความลึก 25-

                   50 เซนติเมตรจากผิวดิน  สีพื้นเป็นสีเหลืองปนแดง และสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึง
                   เป็นดํางปานกลาง มีคําความเป็นกรดเป็นดํางประมาณ 6.0-8.0
                                    สภาพการใช๎ที่ดินในปัจจุบันใช๎ปลูกข๎าวโพด อ๎อย มันส้าปะหลัง ยูคาลิปตัส ยางพารา
                   ล้าไย และไผํ

























                                    คําวิเคราะห์ดิน


                                       ความลึก    OM      avail. P     avail.K     pH
                                        (cm)      (%)      (ppm)       (ppm)
                                        0-20     1.62       5.32       41.53      6.0
                                        20-50    1.95       5.42       38.56      6.3

                                       50-100    1.07       3.72       63.28      6.3

                                    ดินเชียงคานที่อิ่มตัวด๎วยเบสสูงที่พบมี 1 ประเภท ได๎แกํ
                                       หนํวยแผนที่ Ch-hb-gclB/d ,E   : ดินเชียงคานที่อิ่มตัวด๎วยเบสสูง มีเนื้อดิน
                                                               2g 1
                   บนเป็นดินรํวนเหนียวปนกรวด ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ ตื้นถึงชั้นเศษหิน กรํอนเล็กน๎อย มีเนื้อที่
                   92 ไรํ หรือร๎อยละ 1.99 ของพื้นที่ด้าเนินการ
                                 7) ดินเชียงคานที่อิ่มตัวด้วยเบสสูง และสีน้้าตาล (Chiang Khan high base saturation,
                   brown variant : Ch-hb,br)

                                    การจ้าแนกดิน : Clayey-skeletal, kaolinitic, isohyperthermic Typic
                   Haplustalfs
                                    พบบริเวณพื้นที่ผิวเหลือค๎างจากการกัดกรํอน และบริเวณที่ลาดเชิงเขา (footslope)
                   โดยโดยเกิดจากสลายตัวของหินดินดาน สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย ความลาดชัน
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172