Page 165 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองพระเพลิงน้อยลุ่มน้ำสาขาคลองพระสทึง (รหัส 1502) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปราจีนบุรี (รหัส 15) พื้นที่ดำเนินการ บ้านท่าผักชี หมู่ 6 และบ้านหนองปักหลัก หมู่ 11 ตำบลพระเพลิง อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว
P. 165

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                        130



                                 หมายเหตุ : คําที่มี * น้ามาจากคําที่วิเคราะห์ชุดดินจัดตั้ง (กรมพัฒนาที่ดิน, 2547)
                                    ชุดดินเชียงคานที่พบมี 3 ประเภท มีเนื้อที่รวม 1,380  ไรํ หรือร๎อยละ 29.89 ของ
                   พื้นที่ด้าเนินการ ได๎แกํ
                                       หนํวยแผนที่ Ch-sgclA/d ,E   : ชุดดินเชียงคาน มีเนื้อดินบนเป็นดินรํวน
                                                             2g 0
                   เหนียวปนกรวดเล็กน๎อย ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ ตื้นถึงชั้นเศษหิน ไมํมีการกรํอน มีเนื้อที่ 12 ไรํ
                   หรือร๎อยละ 0.26 ของพื้นที่ด้าเนินการ
                                       หนํวยแผนที่ Ch-gclA/d ,E  : ชุดดินเชียงคาน มีเนื้อดินบนเป็นดินรํวนเหนียว
                                                            2g 0
                   ปนกรวด ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ ตื้นถึงชั้นเศษหิน ไมํมีการกรํอน  มีเนื้อที่ 17 ไรํ หรือร๎อยละ
                   0.37 ของพื้นที่ด้าเนินการ
                                       หนํวยแผนที่ Ch-gclB/d ,E  : ชุดดินเชียงคาน มีเนื้อดินบนเป็นดินรํวนเหนียว
                                                            2g 1
                   ปนกรวด ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ ตื้นถึงชั้นเศษหิน กรํอนเล็กน๎อย มีเนื้อที่ 1,351 ไรํ หรือร๎อยละ
                   29.26 ของพื้นที่ด้าเนินการ

                                 5) ดินเชียงคานที่มีการระบายน้้าดีปานกลาง และสีน้้าตาล (Chiang Khan – moderately
                   well drained, brown variant : Ch-mw,br)
                                    การจ้าแนกดิน : Clayey-skeletal,  kaolinitic,  isohyperthermic  Oxyaquic

                   Haplustults
                                    พบบริเวณพื้นที่ผิวเหลือค๎างจากการกัดกรํอน และบริเวณที่ลาดเชิงเขา
                   (footslope) โดยโดยเกิดจากสลายตัวของหินดินดาน สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย
                   ความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ ชุดดินนี้เป็นดินตื้น มีการระบายน้้าดีปานกลาง  ดินมีความสามารถให๎น้้าซึม

                   ผํานได๎ปานกลาง  การไหลบําของน้้าบนผิวดินปานกลางถึงเร็ว และความอุดมสมบูรณ์ต่้า
                                    จากการส้ารวจในพื้นที่ด้าเนินการพบจุดตรวจสอบดินที่เป็นดินชนิดนี้ 1 จุด โดย
                   พบวําสํวนใหญํ ดินบนหนาประมาณ 10 เซนติเมตร มีเนื้อดินเป็นดินรํวนปนดินเหนียว และดินรํวนเหนียว
                   ปนกรวด สีพื้นเป็นสีน้้าตาลเข๎ม หรือสีเข๎มของน้้าตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรด

                   ปานกลาง  มีคําความเป็นกรดเป็นดํางประมาณ 5.0-6.0  สํวนดินลํางเป็นดินเหนียวปนกรวดมาก พบชั้น
                   ของก๎อนกรวดปริมาณมากกวําร๎อยละ 35 โดยปริมาตร พบเป็นชั้นหนามากกวํา 100 เซนติเมตรจากผิวดิน
                   ภายในความลึก 25-50 เซนติเมตรจากผิวดิน สีพื้นเป็นสีน้้าตาลแกํ พบจุดประสีน้้าตาลปนเหลือง และสี
                   น้้าตาลอํอน ภายในความลึก 100 เซนติเมตร จากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด มีคํา

                   ความเป็นกรดเป็นดํางประมาณ 5.0-5.5

                                    สภาพการใช๎ที่ดินในปัจจุบันใช๎ปลูกยูคาลิปตัส
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170