Page 49 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 49

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       37


                                                    และลุ่มน  าหลักแม่น  ามูล (รหัส 05) บริเวณลุ่มน  าสาขาล าพังชู

                                                    (รหัส 0514) ลุ่มน  าสาขาล าเสียวใหญ่ (รหัส 0520) และ

                                                    ลุ่มน  าสาขาล าเสียวน้อย (รหัส 0519)

                             7.1.2 สภาพภูมิประเทศ

                             ลุ่มน  าสาขาล าน  าชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) เป็นลุ่มน  าที่วางตัวในแนวทิศตะวันตกเฉียงเหนือลง

                 ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้เล็กน้อย มีพื นที่ทางด้านทิศเหนือและทิศตะวันตกเป็นพื นที่รับน  าจากลุ่มน  าสาขา

                 อื่น ได้แก่ ลุ่มน  าสาขาล าน  าชีส่วนที่ 3 (รหัส 0408) ลุ่มน  าสาขาล าน  าพองตอนล่าง (รหัส 0414) ลุ่มน  าสาขา

                 ห้วยสายบาตร (รหัส 0415) และลุ่มน  าสาขาล าปาวตอนล่าง (รหัส 0419) มีลักษณะทางกายภาพคล้ายรูป

                 สี่เหลี่ยมผืนผ้า ครอบคลุมพื นที่จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดขอนแก่น และจังหวัดกาฬสินธุ์ ที่เชื่อมต่อกับรูป

                 สามเหลี่ยมด้านไม่เท่าที่อยู่บริเวณตอนปลายของลุ่มน  าซึ่งเป็นทางออกของน  า (outlet) ในขอบเขตจังหวัด

                 ร้อยเอ็ด สภาพพื นที่ต้นน  าของลุ่มน  านี  ครอบคลุมพื นที่ด้านทิศตะวันตก บริเวณตอนบนของจังหวัด

                 มหาสารคาม มีความสูงจากระดับทะเลปานกลาง 150-210 เมตร มีความลาดชันของพื นที่ 0-5 เปอร์เซ็นต์

                 พื นที่กลางน  าเริ่มจากพื นที่ด้านทิศตะวันออกตอนบนของจังหวัดมหาสารคามถึงด้านทิศตะวันตกตอนบนของ

                 จังหวัดร้อยเอ็ด มีสภาพพื นที่ลาดเทจากด้านทิศใต้เข้าหาพื นที่ตอนกลางของลุ่มน  าสาขา แล้วลาดเทจากด้าน

                 ทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ มีความสูงจากระดับทะเลปานกลาง 140-190 เมตร มีความลาดชัน

                 0-5 เปอร์เซ็นต์ และพื นที่ปลายน  าเริ่มจากตอนกลางและตอนเหนือของจังหวัดร้อยเอ็ด ลงไปจนถึงขอบเขต

                 จังหวัดโสธร มีความสูงจากระดับทะเลปานกลาง 135-288 เมตร มีความลาดชัน 0-20 เปอร์เซ็นต์ หรือกล่าว

                 โดยสรุปได้ว่า ลักษณะความลาดเทของพื นที่ลุ่มน  านี  เริ่มจากพื นที่สันขอบของลุ่มน  าด้านทิศตะวันตกเฉียง

                 เหนือของพื นที่ ซึ่งครอบคลุมพื นที่จังหวัดมหาสารคามเป็นส่วนใหญ่ เข้าหาพื นที่ตอนกลางของลุ่มน  าบริเวณ

                 ราบลุ่มแม่น  าชี บริเวณอ าเภอโกสุมพิสัย อ าเภอกันทรวิชัย อ าเภอเมืองมหาสารคาม และอ าเภอกมลาไสยและ

                 อ าเภอร่องค าของจังหวัดกาฬสินธุ์ ตามล าดับ แล้วลาดเทลงพื นที่ตอนปลายของลุ่มน  า บริเวณอ าเภอจังหาร

                 อ าเภอโพธิ์ชัย อ าเภอเชียงขวัญ อ าเภอธวัชบุรี อ าเภอเสลภูมิ และอ าเภอทุ่งเขาหลวง ของจังหวัดร้อยเอ็ด

                 ตามล าดับ ออกสู่ลุ่มน  าชีตอนล่างบริเวณขอบเขตจังหวัดยโสธรในที่สุด (ภาพที่ 3 ภาพที่ 4 และภาพที่ 5)
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54