Page 47 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 47
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
35
(3) เขียนขอบเขตดินเบื องต้นเพื่อก าหนดจุดเจาะส ารวจดินในแผนที่ ภาพถ่าย
ออร์โธสีเชิงเลข มาตราส่วน 1 : 4,000 พร้อมทั งก าหนดจุดเจาะส ารวจเพิ่มเติมให้ได้ระยะห่างในพื นที่จริง
ประมาณ 100-200 เมตรต่อหลุม
(4) แปลสภาพการใช้ที่ดิน เขียนขอบเขตสภาพการใช้ที่ดินเบื องต้น
1.2) การปฏิบัติงานในภาคสนาม
(1) การส ารวจดินและการส ารวจสภาพการใช้ที่ดิน เป็นการส ารวจแบบละเอียดโดยใช้แผน
ที่ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข มาตราส่วน 1 : 4,000 และแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1 : 50,000 เป็นแผนที่พื นฐานใน
การส ารวจ และจัดท าแผนที่ดินมาตราส่วน 1 : 4,000 โดยมีวิธีการส ารวจดังนี
(2) เจาะส ารวจดินตามจุดที่ก าหนดไว้ในแผนที่ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข หรือใน
บริเวณพื นที่ที่มีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดเจน โดยใช้สว่านเจาะดินลึก 180 เซนติเมตร หรือถึงชั นเชื่อม
แข็งหรือแนวสัมผัสชั นหินพื น วางเรียงกันตามความลึก เพื่อตรวจศึกษาสมบัติทางเคมีและทางกายภาพของ
ดินทุกจุดด้วยเครื่องมือตรวจวัดภาคสนาม
(3) บันทึกสภาพแวดล้อมบริเวณพื นที่ศึกษา ได้แก่ วัตถุต้นก าเนิดดิน ภูมิสัณฐาน
ความลาดชัน การกร่อนของหน้าดิน การระบายน าของดิน ความสามารถให้น าซึมผ่านของดิน ระดับน าใต้ดิน
สภาพน าท่วมขัง พืชพรรณและการใช้ประโยชน์ที่ดิน
(4) ศึกษาลักษณะสมบัติดินเพื่อใช้ในการจ าแนกดิน เช่น ความหนาของชั นดิน
เนื อดิน สีดิน โครงสร้างของดิน การยึดตัวของอนุภาคดิน การเคลื่อนย้ายของอนุภาคดินเหนียว ปริมาณการ
กระจายของรากพืช ค่าปฏิกิริยาดิน การจัดเรียงตัวของชั นดิน ชนิดของชิ นส่วนหยาบในดิน หรือวัตถุต่าง ๆ ที่
พบในชั นดิน เช่น ก้อนกรวด ลูกรังและเศษหิน เป็นต้น
(5) จ าแนกดินตามระบบอนุกรมวิธานดิน (soil survey staff, 2014) ในระดับ
ประเภทชุดดินและดินคล้าย (phases of soil series or soil variants) เขียนหน่วยแผนที่ดินลงในภาพถ่าย
ออร์โธสีพร้อมทั งปรับแก้ไขขอบเขตของดินในภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลขให้สอดคล้องกับสภาพพื นที่จริงใน
สนาม
(6) ศึกษาสภาพการใช้ที่ดิน เขียนหน่วยแผนที่สภาพการใช้ที่ดิน พร้อมทั งปรับแก้ไข
ขอบเขตลงในภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลขให้สอดคล้องกับสภาพพื นที่จริงในสนาม
(7) บันทึกลักษณะดิน สภาพพื นที่ และเก็บตัวอย่างดินบริเวณที่เป็นตัวแทนของ
หน่วยแผนที่ดิน ส าหรับน าไปวิเคราะห์หาสมบัติทางเคมี เพื่อการจ าแนกดินและเพื่อการประเมินความ
อุดมสมบูรณ์ของดิน
(8) จัดท าแผนที่ดินและแผนที่สภาพการใช้ที่ดินฉบับต้นร่าง