Page 121 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 121

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       94


                                หน่วยแผนที่ 40B : กลุ่มชุดดินที่ 40 มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ มีเนื อที่ประมาณ

                 4,495 ไร่ หรือร้อยละ 2.13 ของพื นที่เขตพัฒนาที่ดิน

                                4) กลุ่มชุดดินที่ 41

                                ลักษณะโดยทั่วไป : มีเนื อดินเป็นพวกดินทรายหนาปานกลาง ดินลึกมาก เกิดจากการ

                 สลายตัวผุพังอยู่กับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแล้วถูกเคลื่อนย้ายมาทับถมของพวกวัสดุเนื อหยาบหรือจาก

                 วัตถุต้นก าเนิดดินพวกตะกอนล าน  าหรือวัตถุน  าพาจากบริเวณที่สูง วางทับอยู่บนชั นดินร่วนหยาบหรือดินร่วน

                 ละเอียด สภาพพื นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ มีการระบายน  าดีปานกลาง

                 ถึงดีมากเกินไป ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกลาง (pH 5.0-7.0) ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า

                                ดินบนมีเนื อดินเป็นดินทรายปนดินร่วนหรือดินทราย สีน  าตาลปนเทาหรือสีน  าตาล

                 ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดเล็กน้อย มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินประมาณ 5.0-6.5 ดินล่าง

                 มีเนื อดินเป็นดินทรายปนดินร่วน สีน  าตาลหรือสีน  าตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรด

                 เล็กน้อย มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินประมาณ 5.0-6.5

                                ดินล่างในช่วงความลึก 50-100 เซนติเมตรจากผิวดิน มีเนื อดินเป็นดินร่วนปนทรายหรือ

                 ดินร่วนเหนียวปนทราย สีน  าตาลปนเหลือง และอาจพบจุดประสีภายในความลึก 100 เซนติเมตรจากผิวดิน

                                ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน : ดินเป็นทรายหนา 50-100 เซนติเมตร ความสามารถในการ

                 อุ้มน  าและธาตุอาหารต่ า มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า เสี่ยงต่อการขาดน  า

                                แนวทางการจัดการดิน : ควรปรับปรุงบ ารุงดินด้วยอินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยหมักร่วมกับ

                 ปุ๋ยเคมี ควบคู่กับการปลูกพืชตระกูลถั่วคลุมดิน เพื่อรักษาความชื นในดินและป้องกันการชะล้างพังทลายของ

                 หน้าดินที่เกิดจากการตกกระทบของเม็ดฝน การใช้ปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มสมดุลธาตุอาหารควรใส่ที่ละน้อยแต่บ๋อย

                 ครั ง

                                กลุ่มชุดดินที่ 41 ประกอบด้วย 1 หน่วยแผนที่ ได้แก่

                                หน่วยแผนที่ 41B : กลุ่มชุดดินที่ 41 มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ มีเนื อที่ประมาณ

                 61,438 ไร่ หรือร้อยละ 29.08 ของพื นที่เขตพัฒนาที่ดิน

                                5) กลุ่มชุดดินที่ 44

                                ลักษณะโดยทั่วไป : มีเนื อดินเป็นพวกดินทรายหนา ดินลึกมาก เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดิน

                 พวกตะกอนล าน  าหรือจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ของพวกวัสดุเนื อหยาบ สภาพพื นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด

                 เล็กน้อย มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ มีการระบายน  าค่อนข้างดีถึงดีมากเกินไป ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัด

                 มากถึงเป็นกลาง (pH 5.0-7.0) ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126