Page 118 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 118

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       91


                             7.2.8 ลักษณะทางธรณีสัณฐานและวัตถุต้นก้าเนิดดิน

                             ธรณีสัณฐานของพื นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน  าห้วยกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม ได้แก่

                                  1) พื นที่ราบตะกอนน  าพา (alluvial plain) พบบริเวณตอนกลางและปลายลุ่มน  า ที่เกิด

                 จากอิทธิพลของล าน  าหลายสายที่ไหลมาบรรจบกัน ล าน  าได้พัดพาเอาตะกอนดินจากพื นที่สูงไหลล้นออกจาก

                 ล าน  าทั งสองฝั่งในฤดูน  าหลาก มาทับถมกันบนพื นที่เกือบราบขนาดใหญ่ วัตถุต้นก าเนิดดินจึงเป็นตะกอน

                 น  าพา

                                  2) ตะพักล าน  า (alluvial terrace) พบบริเวณถัดขึ นมาจากพื นที่ราบตะกอนน  าพา

                 (alluvial plain) เป็นที่ราบเป็นขั นๆ เกิดจากทางน  าที่ตะกอนตกจม ทับถมกลายเป็นที่ราบลุ่มน  า เมื่อเวลา

                 ผ่านไปนานกระแสน  าที่ไหลรุนแรง ท าให้เกิดการกัดเซาะพื นที่ราบลุ่มน  าเดิมให้ต่ าลง เกิดเป็นตะพักลุ่มน  าใหม่

                 ก่อให้เกิดที่ราบเป็นขั นๆ มีวัตถุต้นก าเนิดดินเป็นวัตถุเคลื่อนย้ายของตะกอนหินดินดานและหินทราย

                                  3) พื นผิวเหลือจากการกร่อน (erosional surface) พบบริเวณพื นที่ต้นน  าตอนท้ายของ

                 ลุ่มน  าห้วยกุดรัง เกิดจากกระบวนการชะล้างโดยกระแสน  าและการกระแทกของเม็ดฝน ท าให้วัสดุหน้าดินที่

                 เกาะตัวหลวมกว่าถูกชะล้างออกไปได้ง่าย คงเหลือพื นที่คงทนต่อการกัดเซาะ เกิดสภาพพื นที่ลูกคลื่นลอนลาด

                 อยู่ทั่วบริเวณที่ดอนของพื นที่ลุ่มน  าห้วยกุดรัง

                             7.2.9 ทรัพยากรดิน

                             จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากรดินบริเวณพื นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน  าห้วยกุดรัง

                 จังหวัดมหาสารคาม จากข้อมูลกลุ่มชุดดิน มาตราส่วน 1: 25,000 ของส านักส ารวจดินและวางแผนการใช้

                 ที่ดิน (2551) ที่ได้ปรับปรุงขึ นใหม่ ประกอบไปด้วย 5 กลุ่มชุดดิน 6 หน่วยแผนที่รวม และ 2 หน่วยแผนที่

                 เบ็ดเตล็ด รวมทั งสิ น 9 หน่วยแผนที่ (ตารางที่ 11 และภาพที่ 20) โดยแบ่งกลุ่มดินตามลักษณะของพื นที่ได้

                 ดังนี

                                1) กลุ่มชุดดินที่ 22

                                ลักษณะโดยทั่วไป : มีเนื อดินเป็นพวกดินร่วนหยาบ ดินลึกมาก เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดดิน

                 พวกตะกอนล าน  าหรือจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแล้วถูกเคลื่อนย้ายมาทับถมของ

                 วัสดุเนื อหยาบ พบในพื นที่ราบลุ่มหรือพื นที่ลุ่มระหว่างเนิน มีสภาพพื นที่ราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2

                 เปอร์เซ็นต์ ส่วนใหญ่มีน  าแช่ขังในช่วงฤดูฝน การระบายน  าของดินเลวหรือค่อนข้างเลว ปฏิกิริยาดินเป็นกรด

                 จัดมากถึงเป็นกลาง (pH 5.0-7.0) ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า

                                ดินบนมีเนื อดินเป็นดินร่วนปนทรายหรือดินทรายปนดินร่วน สีน  าตาลหรือสีน  าตาลปนเทา

                 มีจุดประสีเหลืองและสีน  าตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดเล็กน้อย มีค่าความเป็นกรด

                 เป็นด่างของดินประมาณ 5.0-6.5
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123