Page 93 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำเทิน ลำดับที่ พล.2(2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำแควน้อย (รหัส 0914) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09) พื้นที่ดำเนินการบ้านนาจาน หมู่ที่ 2 ตำบลหนองกระท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
P. 93

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        71





                                             หน่วยแผนที่ 35C/48C  :  หน่วยรวมของกลุ่มชุดดินที่ 35 มีความลาดชัน
                  5-12 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มชุดดินที่ 48 มีความลาดชัน 5-12 เปอร์เซ็นต์ สัดส่วน 50:50 มีเนื้อที่ 3,924 ไร่

                  หรือร้อยละ 0.1419 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                  35) หน่วยรวมของกลุ่มชุดดินที่ 35 และกลุ่มชุดดินที่ 49

                                      กลุ่มชุดดินที่ 35  มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วนละเอียด ดินลึกมาก เกิดจากการทับถม

                  ของตะกอนล้าน้้าหรือเกิดจากการสลายตัวผุพังของหินเนื้อหยาบ พบในพื้นที่ดอนเขตความชื้นดินแบบที่ดิน
                  แห้งติดต่อกันนาน มีการพัฒนาการของดินมานาน สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีความลาดชัน

                  2-5  เปอร์เซ็นต์ การระบายน้้าของดินดีหรือด  ปานกลาง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด มีค่า

                  ความเป็นกรดเป็นด่างของดินประมาณ 4.5-5.5 ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติต่้า
                                      ส่วนกลุ่มชุดดินที่ 49 มีเนื้อดินเป็นพวกดินเหนียวปนเศษชิ้นส่วนเนื้อหยาบมาก เช่น

                  ลูกรัง ปริมาณเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 35  โดยปริมาตร ภายในความลึก 50  เซนติเมตรจากผิวดินและ
                  พบชั้นหินผุหรือหินทรายแป้งภายในความลึก 100 เซนติเมตรจากผิวดิน (มีชั้นลูกรังบาง) ดินตื้นหรือตื้นมาก

                  เกิดจากการทับถมของตะกอนล้าน้้าหรือเกิดจากการสลายตัวผุพังของหินเนื้อละเอียด พบในพื้นที่ดอนเขต
                  ความชื้นดินแบบที่ดินแห้งติดต่อกันนาน มีการพัฒนาการของดินมานาน สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด

                  เล็กน้อย มีความลาดชัน 2-5  เปอร์เซ็นต์ การระบายน้้าของดินดีหรือด  ปานกลาง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัด

                  มากถึงเป็นกรดเล็กน้อย มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินประมาณ 5.0-6.5 ความอุดมสมบูรณ์ของดินตาม
                  ธรรมชาติต่้า

                                      โดยทั้งสองกลุ่มชุดดินไม่สามารถแยกขอบเขตออกจากกันได้ พบในสัดส่วน 50:50

                                      ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน : ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติต่้า บางพื้นที่
                  เป็นดินตื้นถึงตื้นมาก มีเนื้อดินเป็นดินปนทราย พื้นที่ลาดชันดินง่ายต่อการถูกชะล้างพังทลายสูญเสียหน้าดิน

                  และขาดแคลนน้้า
                                      หน่วยรวมของกลุ่มชุดดินที่ 35 และกลุ่มชุดดินที่ 49 พบ 1 หน่วยแผนที่ คือ

                                             หน่วยแผนที่ 35B/49B  :  หน่วยรวมของกลุ่มชุดดินที่ 35 มีความลาดชัน
                  2-5 เปอร์เซ็นต์ และกลุ่มชุดดินที่ 49 มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ สัดส่วน 50:50 มีเนื้อที่ 1,412 ไร่ หรือ

                  ร้อยละ 0.0511 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                  36) หน่วยรวมของกลุ่มชุดดินที่ 35 และกลุ่มชุดดินที่ 56
                                      กลุ่มชุดดินที่ 35  มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วนละเอียด ดินลึกมาก เกิดจากการทับถม

                  ของตะกอนล้าน้้าหรือเกิดจากการสลายตัวผุพังของหินเนื้อหยาบ พบในพื้นที่ดอนเขตความชื้นดินแบบที่ดิน

                  แห้งติดต่อกันนาน มีการพัฒนาการของดินมานาน สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดถึงเป็นเนินเขา มีความ
                  ลาดชัน 15-35 เปอร์เซ็นต์ การระบายน้้าของดินดีหรือด  ปานกลาง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรด

                  จัด มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินประมาณ 4.5-5.5 ความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติต่้า
                                      ส่วนกลุ่มชุดดินที่ 56  มีเนื้อดินเป็นพวกดินร่วนละเอียดลึกปานกลางถึงเศษหิน

                  ปริมาณเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 35 โดยปริมาตร หรือพบชั้นหินพื้นผุในช่วงความลึก 50-100 เซนติเมตร
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98