Page 76 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำเทิน ลำดับที่ พล.2(2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำแควน้อย (รหัส 0914) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09) พื้นที่ดำเนินการบ้านนาจาน หมู่ที่ 2 ตำบลหนองกระท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
P. 76

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        54





                                7.1.5 ทรัพยากรดิน
                                จากการศึกษาข้อมูลดินของส้านักส้ารวจดินและวางแผนการใช้ที่ดิน มาตราส่วน 1:  50,000

                  (ปี 2547) สามารถสรุปทรัพยากรดินในพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาแม่น้้าแควน้อย (รหัส 0914) ประกอบด้วย 75 หน่วย
                  แผนที่ดิน และ 6 หน่วยพื้นที่เบ็ดเตล็ด ได้ดังนี้ (ตารางที่ 4 และภาพที่ 12)

                                  1) กลุ่มชุดดินที่ 4

                                    กลุ่มชุดดินที่ 4  มีเนื้อดินเป็นพวกดินเหนียวละเอียดหรือดินเหนียวละเอียดมาก ดิน
                  ลึกมาก เกิดจากการทับถมของตะกอนล้าน้้า พบในพื้นที่ราบลุ่มหรือตะพักล้าน้้าระดับต่้า มีการพัฒนาการ

                  ของดินน้อย สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2  เปอร์เซ็นต์ การระบายน้้าของ

                  ดินค่อนข้างเลว มีน้้าท่วมขังในฤดูฝน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน้อยถึงเป็นด่างปานกลาง มีค่าความเป็นกรด
                  เป็นด่างของดินประมาณ 6.5-8.0 บางพื้นที่พบรอยแตกระแหงและรอยไถลหรือก้อนปูนในหน้าตัดดิน ความ

                  อุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติปานกลาง
                                    ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน : เมื่อหน้าดินแห้ง ดินจะแข็ง แตกระแหงกว้างและลึก

                  ท้าให้รากพืชฉีกขาด แต่เมื่อดินเปียกแฉะจะเหนียวติดเครื่องมือ ท้าให้ไถพรวนยาก และขาดแคลนน้้าใน
                  ระยะที่ฝนทิ้งช่วงนาน

                                    กลุ่มชุดดินที่ 4 พบ 1 หน่วยแผนที่ คือ

                                             หน่วยแผนที่ 4  :  กลุ่มชุดดินที่ 4 มีความลาดชัน 0-2  เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่
                  38,070 ไร่ หรือร้อยละ 1.3766 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                                  2) กลุ่มชุดดินที่ 5

                                    กลุ่มชุดดินที่ 5  มีเนื้อดินเป็นพวกดินเหนียวละเอียด ดินลึกมาก เกิดจากการทับถม
                  ของตะกอนล้าน้้า พบในพื้นที่ราบลุ่มหรือตะพักล้าน้้าระดับต่้า มีการพัฒนาการของดินมานาน สภาพพื้นที่

                  ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ การระบายน้้าของดินเลว มีน้้าท่วมขังในฤดู
                  ฝน ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นกลาง มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินประมาณ 6.0-7.0 บาง

                  พื้นที่อาจพบรอยแตกระแหงและรอยไถลหรือพบก้อนปูนในหน้าตัดดิน ความอุดมสมบูรณ์ของดินตาม
                  ธรรมชาติปานกลาง

                                    ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดิน : เมื่อหน้าดินแห้ง ดินจะแข็งและแตกระแหง ท้าให้รากพืช

                  ฉีกขาด เมื่อดินเปียกแฉะจะเหนียวติดเครื่องมือ ไถพรวนยากและมีน้้าท่วมขังนานในฤดูฝน
                                    กลุ่มชุดดินที่ 5 พบ 1 หน่วยแผนที่ คือ

                                             หน่วยแผนที่ 5  :  กลุ่มชุดดินที่ 5 มีความลาดชัน 0-2  เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่

                  9,139 ไร่ หรือร้อยละ 0.3305 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา
                                  3) กลุ่มชุดดินที่ 6

                                    กลุ่มชุดดินที่ 6  มีเนื้อดินเป็นพวกดินเหนียวละเอียด ดินลึกมาก เกิดจากการทับถม
                  ของตะกอนล้าน้้า พบในพื้นที่ราบลุ่มหรือตะพักล้าน้้าระดับต่้า มีการพัฒนาการของดินมานาน สภาพพื้นที่

                  ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ การระบายน้้าของดินเลวหรือค่อนข้างเลว มี
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81