Page 73 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำเทิน ลำดับที่ พล.2(2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำแควน้อย (รหัส 0914) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09) พื้นที่ดำเนินการบ้านนาจาน หมู่ที่ 2 ตำบลหนองกระท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
P. 73

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        52





                                         Jpk : หินตะกอนหินชั้น และหินแปร หมวดหินภูกระดึง มีลักษณะเป็นหินทราย
                  แป้งสีน้้าตาลแกมแดง แดงแกมม่วง ส่วนมากมีปูนและไมกาปน หินทรายสีเทาแกมเขียวถึงสีน้้าตาลแกม

                  เหลือง มีเม็ดปูนปนบ้าง
                                7.1.4 ธรณีสัณฐานและวัตถุต้นก าเนิดดิน

                                      จากการศึกษาข้อมูลธรณีวิทยาและข้อมูลทรัพยากรดิน สามารถแบ่งลักษณะทาง

                  ธรณีสัณฐานและวัตถุต้นก้าเนิดดินในพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาแม่แควน้อย (รหัส 0914) ออกได้ดังนี้
                                        1)  พื้นที่ราบตะกอนน้้าพา (alluvial  flat)  พบบริเวณตอนล่างทางทิศตะวันตก

                  เฉียงใต้ของพื้นที่ลุ่มน้้า สภาพภูมิประเทศและลักษณะแผ่นดินที่เป็นที่ราบตะกอนน้้าพานี้เกิดจากการทับถม

                  ของตะกอนล้าน้้าใหม่ ในฤดูน้้าหลากแต่ละปีน้้าจากแม่น้้าล้าคลองจะไหลท่วมบริเวณนี้และพัดพาเอา
                  ตะกอนมาทับถมกันทุกปีท้าให้เกิดมีสภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบเรียบ มีความลาดชันน้อยกว่า 1 เปอร์เซ็นต์

                                        2)  พื้นที่ตะพักล้าน้้า (terrace)  พบบริเวณตอนล่างทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ
                  พื้นที่ลุ่มน้้าจะพบเกิดต่อจากที่ราบตะกอนน้้าพา เกิดจากอิทธิพลของน้้าท้าให้เกิดการพัดพามาทับถมกันของ

                  ตะกอน สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์
                                        3) พื้นผิวที่เหลือจากการกร่อน (erosion  surface) หรือพื้นผิวที่เหลือจากการ

                  กร่อนซอยแบ่ง (dissected erosion surface) ลักษณะของแผ่นดินแบบนี้เป็นสิ่งที่เหลือค้างมาจากการถูก

                  กัดกร่อนและการพังทลาย ท้าให้เกิดมีสภาพภูมิประเทศ ไม่ราบเรียบ คือเป็นลูกคลื่น ส่วนใหญ่มีความลาด
                  ชันประมาณ 2-20 เปอร์เซ็นต์ พบบริเวณตอนกลางของพื้นที่ลุ่มน้้า วัตถุต้นก้าเนิดดินเกิดจากวัตถุ

                  เคลื่อนย้ายและวัตถุตกค้างของหินอัคนีพวกหินแกรนิต และหินตะกอนพวกหินดินดานและหินทราย

                                        4)  เนินเขาและภูเขา (hill  and  mountain)  ลักษณะแผ่นดินที่เป็นภูเขา เกิดจาก
                  การโค้งตัวและยุบตัวของเปลือกโลก ท้าให้บริเวณนั้นมีระดับสูงต่้าแตกต่างกันมาก สภาพภูมิประเทศมีความลาด

                  ชันสูงบางพื้นที่มีความลาดชันสูงมาก คือ มากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ได้แก่ ภูเขา และเทือกเขา พบบริเวณตอนบน
                  ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ลุ่มน้้า หินที่พบมีทั้งหินอัคนีพวกหินแกรนิต และหินตะกอน พวก

                  หินดินดาน หินทราย หินทรายแป้ง หินปูน หินบะซอล  และควอร์ตไซต์ พื้นที่เกือบทั้งหมดยังคงสภาพเป็นป่าไม้
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78