Page 238 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยน้ำเทิน ลำดับที่ พล.2(2556) ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำแควน้อย (รหัส 0914) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำน่าน (รหัส 09) พื้นที่ดำเนินการบ้านนาจาน หมู่ที่ 2 ตำบลหนองกระท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
P. 238

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        174




                  ควรมีระบบการอนุรักษ์ดินและน้้าที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ เช่น ปลูกพืชปุ๋ยสด ปลูกพืชคลุมดิน วัสดุคลุม
                  ดิน ปลูกพืชแซม ในสภาพพื้นที่ค่อนข้างราบเรียบถึงเป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ส่วนสภาพพื้นที่เป็นลูก

                  คลื่นลอนลาดถึงเป็นลูกคลื่นลอนชัน ควรเพิ่มมาตรการที่จะช่วยชะลอความเร็วในการไหลของน้้าโดย วิธีการ
                  สร้างคันดินการท้าขั้นบันได  ท้าคูน้้าขอบเขา  ท้าฐานปลูกหญ้าแฝกเฉพาะต้น  เป็นต้น  พัฒนาแหล่งน้้า

                  จัดระบบให้น้้าในพื้นที่ปลูก

                                              2.3) ปัญหาดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่้าและมีการกร่อนพื้นที่ดอน มีเนื้อที่
                  1,351 ไร่ หรือร้อยละ 29.37 ของพื้นที่ด้าเนินการ การกร่อนของดินเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ

                  โดยเฉพาะพื้นที่ทีมีความลาดชัน ได้แก่ Ds-slB/d ,E  Ds-slC/d ,E  Ds-slD/d ,E  และ Ds-br-slC/d ,E
                                                                                  5 2
                                                                                                     5 1
                                                          5 1
                                                                      5 1
                                                   แนวทางการแก้ไข
                                                   1) การปลูกพืชไร่ ควรมีการจัดระบบการปลูกพืชให้หมุนเวียนตลอด
                  ทั้งปี มีการปลูกพืชบ้ารุงดินร่วมอยู่ด้วย หรือปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกอัตรา 2-3 ตันต่อไร่ หรือ
                  หว่านเมล็ดถั่วพร้า อัตรา 8-10 กิโลกรัมต่อไร่ เมล็ดถั่วพุ่มอัตรา 6-8 กิโลกรัมต่อไร่ หรือปอเทืองอัตรา 4-6

                  กิโลกรัมต่อไร่  ไถกลบระยะออกดอก  ปล่อยไว้  1-2  สัปดาห์  ก่อนปลูกพืชมีระบบอนุรักษ์ดินและน้้าที่
                  เหมาะสมตามสภาพพื้นที่  เช่น  ไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ  ปลูกพืชปุ๋ยสด  วัสดุคลุมดิน  ปลูกพืช

                  หมุนเวียน ปลูกพืชสลับเป็นแถบพัฒนาแหล่งน้้าแลจัดระบบการให้น้้าในพื้นปลูก

                                                   2) การปลูกไม้ผล หรือไม้ยืนต้นขุดหลุมปลูกขนาด  50x50x50
                  เซนติเมตร หรือ 75x75x75 เซนติเมตร หรือถึงชั้นหินปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกอัตรา 20-

                  35 กิโลกรัมต่อหลุม ใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์น้้าตามชนิดพืชที่ปลูก ในช่วงการเจริญเติบโต ก่อนและหลัง

                  การเก็บเกี่ยว ถ้าดินเป็นกรดมาก ปรับปรุงด้วยการใส่ปูนขาว อัตรา 3-5 กิโลกรัมต่อต้น บริเวณพื้นที่ลาดชัน
                  ควรมีระบบการอนุรักษ์ดินและน้้าที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ เช่น ปลูกพืชปุ๋ยสด ปลูกพืชคลุมดิน วัสดุคลุม

                  ดิน ปลูกพืชแซม ในสภาพพื้นที่ค่อนข้างราบเรียบถึงเป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ส่วนสภาพพื้นที่เป็นลูก
                  คลื่นลอนลาดถึงเป็นลูกคลื่นลอนชัน ควรเพิ่มมาตรการที่จะช่วยชะลอความเร็วในการไหลของน้้าโดย วิธีการ

                  สร้างคันดินการท้าขั้นบันได  ท้าคูน้้าขอบเขา  ท้าฐานปลูกหญ้าแฝกเฉพาะต้น  เป็นต้น  พัฒนาแหล่งน้้า
                  จัดระบบให้น้้าในพื้นที่ปลูก

                                                   3)  ควรควบคุมการกร่อนไม่ให้เกิดขึ้นมากกว่าเดิม ท้าการจัดระบบ

                  อนุรักษ์ดินและน้้า โดยมีทั้งวิธีกล คือ การปรับลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ เช่น การท้าขั้นบันไดดิน การ
                  ท้าคันดินกั้นน้้า คันดินเบนน้้า การท้าคูรับน้้า หรือทางระบายน้้า ส่วนวิธีทางพืช คือการใช้พืชช่วยลดการ

                  กร่อนของดิน เช่น การปลูกพืชหมุนเวียนแบบผสมผสาน โดยไม่ปล่อยให้หน้าดินว่างเปล่า การปลูกหญ้า

                  หรือพืชตระกูลถั่วเป็นแถบตามแนวระดับขวางความลาดเทของพื้นที่ การใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรคลุม
                  ดิน เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถใช้ทั้งวิธีทางกลและวิธีทางพืชร่วมกันได้ เช่น การยกร่องหรือท้าขั้นบันได

                  และปลูกพืชคลุมดินตามแนวระดับ เป็นต้น นอกจากนี้ การไถพรวนพื้นที่ให้น้อยครั้งจะช่วยลดการชะล้างพัง
                  ทรายของดินได้อีกทางหนึ่ง
   233   234   235   236   237   238   239   240   241   242   243