Page 78 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 78

เปนผลผลิตจากแหลงไมยูคาลิบตัสที่มากที่สุด ปละหลายลานตัน สําหรับอุตสาหกรรม ไดแก
               ไมปลูกสราง  ไมทอนและชิ้นไมสับ ไมอัด เยื่อ กระดาษ เสนใย เชื้อเพลิงชีวภาพ ผลิตไฟฟา ผลิตเชื้อเพลิง

               สังเคราะห (BTL = Biomas to Liquid)




                           ไมยูคาลิปตัส





               การแกปญหาทุงกุลารองไห ที่จะตองดําเนินการตอไป
                             ควรมีการปองกันการชะลางพังทลายโดยน้ํา ซึ่งเปนปญหาเดิม คือน้ําหลากทวมทุกปและไหล
               เร็ว เมื่อหมดฤดูฝนก็จะแหงแลงจัดสลับกัน โดยถนนที่กอสรางเชื่อมโยงระหวางอําเภอ และหมูบานเปนเสมือน

               คันดินเบนน้ํา (Diversion) ที่ทําหนาที่ชะลอน้ํา เบนน้ํา และคูรับน้ํา (Control drainage system) ทําหนาที่
               ควบคุมทิศทางและความเร็วของน้ําไปสูแหลงน้ํา อีกทั้งยังชวยกักเก็บน้ําเพื่อสูบกลับสูแปลงนาเมื่อฝนทิ้งชวง
               มีการปรับรูปแปลงนาทําคันดินใหมีขนาดใหญและสูงขึ้นเพื่อกักเก็บน้ําแทนของเดิมที่มีขนาดเล็กเตี้ยแคบถูกน้ํา
               ชะพังไดงาย


                                การควบคุมการไหลบาของน้ําที่ฝนตกมากกวา 200 มิลลิเมตร
                         ในสองวัน น้ําจะทวมแตมีการออกแบบ แบบรับน้ําที่มากกวา 20 เซนติเมตร (200 มิลลิเมตร)

                  คือ ความสูงของกลาขาวที่ใชปกดํา ทําใหน้ําจะไหลลงสูคลองหรือ คูรับน้ํา และควบคุมการไหลไปสูแหลง
                  น้ําขนาดเล็กและกักเก็บไวใช สวนเกินจะไหลลงน้ําเสียว ลําพลับพลาและแมน้ํามูล

                        ชวงขาดน้ําเมื่อฝนทิ้งชวงน้ําที่คางในคูรับน้ําที่มีอาคารชะลอน้ํา ควบคุมความเร็วในการไหล
                  สามารถสูบกลับไปยอนทางเดิมที่ไหลลงมาชวยชะลอความเสียหายกับนาขาวได

                       น้ําที่กักเก็บไวในแปลงนาขาวสูง 20 เซนติเมตร จะเพียงพอที่จะทนตอภาวะฝนทิ้งชวงไดถึง 30
                 วัน คันนาจึงสูง  50-80 เซนติเมตร และกวาง  50-80  เซนติเมตร ซึ่งตอมาไดมีการสงเสริมใหปลูกไมใช
                 สอยโตเร็ว และ ที่สําคัญ คือ ยูคาลิปตัส



                         การชะลางโดยลม จากการเผาและทุงโลง ลมที่พัดแรงมากเปนลมหมุน เรียกวา “ลมหัวกุด”
               เปรียบเหมือนทอนาโดขนาดเล็ก ความเร็วของลมจะทําใหอัตราการระเหยของน้ําสูงมาก และชักนําน้ําใตดินที่มี

               เกลือละลายอยูขึ้นมาสะสมบนผิวดินได เกลือที่มากจะทําลายโครงสรางดินทําใหงายตอการถูกลมหอบ
                             การปลูกไมใชสอยโตเร็วที่ปลูกหลายชนิด จุดประสงคคือ จะใหเปนไมฟน สวนใหญจะไมเหลือ
               เพราะทนตอน้ําทวม แหงแลง ไฟไหมและโรคแมลงไมได ไมที่เหลือรอดมากที่สุด คือ ยูคาลิปตัส








                                                                           โครงการพัฒนาทุงกุลารองไห  75
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83