Page 76 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 76

ในไรนา แตประการใดและจากรายงานสรุป เมื่อป 2557 นั้น ปรากฏวาทุงกุลารองไหมีคลอง และถนนในไร
               นาเพิ่มขึ้นมากกวา 2,000 กิโลเมตร คิดเปนเนื้อที่ที่ชาวนาอุทิศใหทางราชการประมาณ 28,000 ไร

                      ดวยอานิสงสที่ทํารวมกันระหวางราษฎรและรัฐในพื้นที่ทุงกุลารองไหแหงนี้ ชาวนาทุงกุลารองไห
               สามารถเพิ่มผลผลิตทั้งนาป (ขาวหอมมะลิ 105 ) ไดเพิ่มขึ้นจากเดิมกวา 2 เทาตัว ในแตละปและสามารถ
               ทําการผลิตผลผลิตดังกลาวไดทุกๆ 4 ใน 5 ปแทนที่จะเปนทุกๆ 1 ใน 5 ปอยางแตกอน ความสามารถในการ
               ผลิตขาวนาป ตลอดจนรายไดที่จากการทํานาปของชาวทุงกุลารองไหนั้นไดรับการยกระดับขึ้นจนเทียบเทากับ

               ความสามารถของเกษตรกรในทุกภูมิภาคในประเทศไทยแลวในที่สุด
                      ทายสุดแตกลับมีความสําคัญเปนอยางยิ่ง ก็คือ การที่งานปรับปรุงพื้นที่นาไดมอบโอกาสใหชาวนา
               ทุงกุลารองไหสามารถขยายฐานการผลิตของตนที่แคบอยู ใหไดกวางขวางขึ้น ไมใชทํานาปเพียงอยางเดียว

               อยางแตกอน เขาเหลานั้นสามารถจะยกระดับการทํานาใหสูงขึ้นเปนการเกษตรแบบผสมผสาน ตามแนวทาง
               โครงการเกษตรทฤษฎีใหมและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพล อดุลยเดช
               ไดอยางเต็มภาคภูมิตอไป
                      ทานอธิบดีทรงศักดิ์ วงศภูมิวัฒน  อดีตอธิบดีกรมสงเสริมการเกษตรและรองอธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน
               ไดกลาวสรุปไวในบรรยาย ไวดังนี้

                      จากแปลงแรกที่ทําไว 4,400 ไร จนถึงวันนี้ 943,000 กวาไร ซึ่งใหญกวาทุงรังสิต ใหญกวาลําปาว
               และยังตองทําตออีก 2,000 ไรตอป ถึงแมจะชาลง แตยังตองมีงานนี้ดํารงอยูเปนปที่ 25-26 แลวเมื่อมีการ
               ทําแลว ยังตองมีการประเมินผล เพื่อพัฒนาตอไป มีคําถามที่วาทําไมถึงทําไดนอยลง คําตอบคือ คาที่ดินแพงขึ้น

               ซึ่งตางจากตอนเขาทุงกุลารองไหครั้งแรก ไรหนึ่งตกประมาณ 800 บาท แตในวันนี้ไรละ 50,000 บาท






                                                             ทานตอมา คือนายพิสุทธิ์  ศาลากิจ  อดีตผูอํานวยการ
                                               สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 ไดบรรยายในหัวขอ “ผลกระทบและ

                                               ผลผลิตโครงการพัฒนาทุงกุลารองไห” ดังนี้






               ผลกระทบโครงการพัฒนาทุงกุลารองไห

                             ดินเค็มในพื้นที่ทุงกุลารองไห ลดลงจากเดิม 12%, 15%, 17%  และ 27%  ตามลําดับชวง
               ของการพัฒนา ผลกระทบนี้เกิดขึ้นจากแนวไมบังลมเติบโตและทําหนาที่ลดความเร็วของลมที่พัดผานพื้นที่ทํา
               ใหไมเกิดพายุหมุนทองถิ่น อีกทั้งความเร็วลมที่ลดลงทําใหการคายระเหยและการระเหยของน้ําลดลง
               การเสียน้ําในฤดูแลงลดลงในขณะที่ฝนตกชะลางเกลือยังเปนปกติทําใหดินเค็มลดความรุนแรงลง ซึ่งมีผล
               ตอการเปนประโยชนของธาตุอาหารพืช







                                                                           โครงการพัฒนาทุงกุลารองไห  73
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81